แม่ของแผ่นดินประชาธิปไตย
เห็นจากโฆษณาการจัดงานวันแม่ทางสื่อต่างๆ ว่าใช้งบประมาณ 112 ล้านบาท (งบประมาณประจำปีของ ม.ราชภัฏหลายแห่งอยู่ที่ประมาณ 200 กว่าล้านบาท) ดูเหมือนจะเข้าสู่เทศกาลวันแม่มาเป็นเดือนๆ แล้ว แต่ผมเองรู้สึกเฉยๆ กับวันแม่ ไม่ใช่เพราะไม่รักแม่ ผมก็รักแม่เหมือนคนอื่นๆ แต่สำหรับผมหากจะมี “วันแม่” ของสังคมใดๆ บนโลกใบนี้ ควรเป็นวันที่ทำให้เราระลึกถึงแม่ของชนชั้นผู้ถูกกดขี่ เอาเปรียบ และหากจะมีวีรกรรมของแม่ในโลกนี ้ก็ควรเป็นวีรกรรมของแม่แห่ งผองชนชั้นล่างที่สู้ชีวิตอย่ างปากกัดตีนถีบเลี้ยงลูกให้เป็ นคนรักความยุติธรรม ต่อสู้เพื่อเสรี ภาพและความเสมอภาค
Posted: 07 Aug 2012 02:31 AM PDT (อ้างอิงจากเวบไซท์ประชาไท)
นักปรัชญาชายขอบ
นักปรัชญาชายขอบ เขียนถึงแม่ทุกผู้นาม แม้ผู้ต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพ เสมอภาค ประชาธิปไตยเห็นจากโฆษณาการจัดงานวันแม่ทางสื่อต่างๆ ว่าใช้งบประมาณ 112 ล้านบาท (งบประมาณประจำปีของ ม.ราชภัฏหลายแห่งอยู่ที่ประมาณ 200 กว่าล้านบาท) ดูเหมือนจะเข้าสู่เทศกาลวันแม่มาเป็นเดือนๆ แล้ว แต่ผมเองรู้สึกเฉยๆ กับวันแม่ ไม่ใช่เพราะไม่รักแม่ ผมก็รักแม่เหมือนคนอื่นๆ แต่สำหรับผมหากจะมี “วันแม่” ของสังคมใดๆ บนโลกใบนี้ ควรเป็นวันที่ทำให้เราระลึกถึงแม่ของชนชั้นผู้ถูกกดขี่
เป็นความจริงว่า แม่ในทุกชนชั้นย่อมเป็นผู้มีพระคุณที่ลูกควรกตัญญู และผมก็คิดว่าความซาบซึ้
งในพระคุณของแม่ของแต่ละคนในแต่
แม่ชาวชนบทอีสาน
หากมองถึงการทำหน้าที่ของแม่ตามที่พระสอนว่า “ช่วยให้ลูกได้เรียนศิลปวิทยา” หรือพูดในภาษาปัจจุบันว่า “ส่งเสียให้ลูกมีการศึกษาเพื่ออนาคตที่ดี” แม่ผมก็ไม่มีปัญญาทำหน้าที่นี้
นึกย้อนหลังไป ผมไม่เคยโกรธแม่เลยที่ไม่อนุญาตให้ผมบวชเรียน ในเวลานั้นแม่ผมอาจคิดอะไรแบบ “สมจริง” อาจเห็นว่าความฝันของผมที่อยากเรียนหนังสือ อยากเป็นครูบ้านนอกมัน “โรแมนติก” เกินไป เพราะในสายตาของแม่การเป็นครูบ้
อีกครั้งหนึ่ง เมื่อช่วงที่มีคนเสื้อแดงมาชุมนุมก่อนเกิดเหตุการณ์สงกรานต์เลือดปี 2552 ผมกลับไปเยี่ยมบ้าน เห็นแม่ตื่นแต่เช้าออกไปช่วยเพื
สิ่งที่ผมรับไม่ได้คือมุมมองแบบสื่อตัวแทนชนชั้นกลางในเมือง กวีธรรม หรือนักวิชาการที่ดูถูกคนชนบท มองปรากฏการณ์ที่คนชนบทคนต่างจั
พอถึงตรงนี้นึกถึงคำถามใน “สารคดี 2475” ของ ThaiPBS ที่ว่า “ฤาประชาชนถูกใช้เป็นเครื่องมื
อ?” เพื่อตอกย้ำวาทกรรม “ชิงสุกก่อนห่าม” ของการปฏิวัติสยาม 2475 และบอกเป็นนัยว่า “นักการเมืองเลวๆ ใช้ประชาชนเป็นเครื่องมือสร้างความขัดแย้งหรือเปล่า” แต่ผมอยากถามว่าคนไทยเป็นเครื่
หรืออย่างพวกที่พยายามแสดงบท “เป็นกลาง” ซึ่งสมาทาน “ลัทธิประเวศ” ที่แสดงออกถึงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ “ด้านใน” ของมนุษย์ อ้างธรรมะ อ้างพุทธศาสนา ศาสตร์บูรณาการ ปฏิวัติจิตสำนึกใหม่ สร้างจิตใหญ่ที่เข้าถึงความจริงทั้งหมด พูดซ้ำๆ เรื่องปัญหาความเหลื่อมล้ำ ความไม่เป็นธรรม ปัญหาคนเล็กคนน้อย ปฏิรูปโครงสร้าง ปฏิรูปประเทศ กระจายอำนาจ อ้างว่านักการเมืองใช้
แต่นักวิชาการชาวต่างชาติกลับมองอย่าง “มีกึ๋น” มากกว่า เช่น Duncan McCargo มองว่า คนเสื้อแดงคือ urbanized villagers หรือชาวบ้านที่กลายเป็นชาวเมืองที่มีคุณลักษณะเด่นๆ เช่น เลือกตั้งในต่างจังหวัด แต่ทำงานในกรุงเทพฯ และเมืองอื่นๆ ไม่ใช่ชาวนายากจนแต่เป็นชนชั้
และความจริงอีกอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ คนที่ออกมาร่วมชุมนุมในมวลชนเสื้อแดงส่วนใหญ่คือ “เพศแม่” (ในมวลชนเสื้อเหลืองก็เช่นกัน) แม้ว่าบนเวทีผู้หญิงอาจไม่ได้มี
การชูป้าย “ดีแต่พูด” ของคุณจิตรา คชเดช ช่วยเปิดเปลือยให้เห็นธาตุแท้ของคนที่ดูดีมีหลักการอย่างล่อนจ้อนว่า คนเช่นนั้นไร้มโนธรรมสำนึกรับผิ
นางพะเยา อัคฮาด มารดา "น้องเกด - กมนเกด อัคฮาด" พยาบาลอาสาที่ถูกยิงเสียชีวิตในวัดปทุมวนารามเมื่อวันที่ 19 พ.ค. 53 สวมกวดนางรสมาลิน ภรรยาอากงนักโทษ 112 ที่เสียชีวิตในคุก (ภาพจากเฟซบุ๊ก Nithiwat Wannasiri)
ในยุคสมัยที่สังคมเราถูกบดบังด้วยมายาคติถูก-ผิด ดี-เลว อย่างสุดๆ ชนิดที่ว่าหากเป็นนักการเมืองหรือคนธรรมดาก็อ้างศีลธรรม อ้างกฎหมาย ใช้คำสาปแช่งประณามต่างๆ นานาเพื่อกดเหยียดให้ “เลวเกินจริง” ได้อย่างไร้ขอบเขต แต่หากเป็นฝ่ายอำมาตย์กลับไม่มี
แต่ในยามเช่นนี้กลับมีผู้หญิงตัวเล็กๆ จำนวนหนึ่งออกมาปฏิเสธการครอบงำนั้นอย่
พูดก็พูดเถอะ หากเราจะเรียกบุคคลอื่นที่นอกเหนือจากหญิงผู้ให้กำเนิดเราว่า “แม่” คนๆ นั้นควรเป็นสตรีที่อุทิศตนเพื่
เช่นเดียวกันหญิงไทยที่เป็นแม่ผู้สร้างชาติ คือแม่ที่เป็นไพร่ แม่ที่ตรากตรำงานหนัก แม่ที่เป็นคนชั้นล่างของสังคม แม่ที่ต่อสู้เพื่อความยุติธรรมบนพื้นฐานของเสรี
นึกถึงคำพูดของอาจารย์อุกฤษฏ์ แพทย์น้อย (เสวนาที่เผยแพร่ในยูทูป) ที่ว่า “ช่วงปฏิวัติฝรั่งเศสก็ไม่ได้มีข้อมูลชี้ชัดว่าชาวฝรั่งเศสอ่านงานของรุสโซกันมากขนาดไหน งานของรุสโซน่าจะถูกยกย่
แน่นอนว่า ในบ้านเราก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าคนระดับชาวบ้านธรรมดาๆ ออกมาเรียกร้องให้ยกเลิก ม.112 ก่อนนักวิชาการที่มีชื่อเสียง ซึ่งหมายความว่าชาวบ้านมองเห็น “ปัญหารากฐาน” ของความไม่เป็นประชาธิปไตยก่อนนักวิชาการหรือไม่ พวกเขารู้ว่าต่อสู้กับอะไร ต้องเสี่ยงมากขนาดไหน แต่ก็กล้าเสี่ยง ลองย้อนไปดูภาพหญิงสาวเสื้
พูดอย่างถึงที่สุดแล้ว แม่ที่เป็นชาวนา กรรมกร โสเภณี ก็คือแม่ที่มี “ความเป็นมนุษย์” ที่สังคมนี้พึงเคารพยกย่อง และให้ความช่วยเหลือเพศแม่เหล่
านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งโดยรากฐานที่สุดแล้วก็ต้องเริ่มด้วยการสร้างระบบสั
ฉะนั้น เพศแม่ที่ตระหนักรู้ความจริงว่าสังคมไร้ความยุติธรรม ไม่เป็นประชาธิปไตย ประชาชนชั้นล่างถูกโกงอำนาจ แล้วลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อความยุติธรรม เสรีภาพ ความเสมอภาค และประชาธิปไตย คือ “แม่ของแผ่นดินประชาธิปไตย” ที่สังคมนี้ต้องมองเห็น “ตัวตน” ของพวกเธอ และพึงสดุดีด้วยมโนสำนึกในบุญคุ
ติดตามความเคลื่อนไหวของ ประชาไท ทางอีเมล
คลิกอ่าน http://goo.gl/8xIcV หรือเฟซบุ๊ค http://fb.me/Prachatai
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น