วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2555


หัดคิดแบบมีสติกันบ้าง
อย่าได้หลงกลฝ่ายเผด็จการ การชะลอการแก้รัฐธรรมนูญ 
ทำให้ฝ่ายประชาธิปไตยกลับไปเป็นฝ่ายรุกทางการเมือง
.by สหาย โอ๊ต on Wednesday, June 13, 2012 at 9:57pm ·.      

สหายโอ๊ต          ปัจจุบันมีคำถามเกิดขึ้นมากมายจากการชะลอการแก้รัฐธรรมนูญวาระ 3 ให้เลือนการพิจารณาไว้ก่อน บางคนมีคำถามว่ารัฐบาลยังสู้อยู่หรือไม่ มีการเจราจากับฝ่ายเผด็จการหรือไม่ รัฐบาลผิดคำพูดประชาชนหรือ 
          สิ่งที่ผมต้องการสื่อผ่านบทความนี้จะไม่เห็นด้วยก็ไม่เป็นไรครับ ในอดีตที่ผ่านมาก่อนมีการชะลอการแก้รัฐธรรมนูญวาระ 3 ศาลรัฐธรรมนูญให้ตุลาการออกมาให้มีการชะลอการแก้รัฐธรรมนูญมาตรา 291 ในวาระ 3 และได้มีการชุมนุมของฝ่ายประชาธิปไตยหน้ารัฐสภาค้านการตัดสินของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและมีการล่ารายชื่อถอดถอนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้งหมด 7 คน และในเวลานั้นสถานการณ์การเมืองในขณะนั้นมาความเข้มข้นและร้อนแรงเป็นอย่างมากนั้นเป็นช่วงเวลาที่ฝ่ายเผด็จการเสียเปรียบมากที่สุดจนฝ่ายอำมาตย์โบราณให้อัยการสูงสุดออกมาว่าไม่เห็นด้วยกับศาลรัฐธรรมนูญทำให้ที่น้ำกำลังเดือดกับเย็นลงนี่เป็นการแก้เกมส์ของฝ่ายเผด็จการอย่างยิ่งและในขณะนั้นพี่น้องฝ่ายประชาธิปไตยก็คิดว่าจะมีการชุมนุมระยะยาวที่หน้าสภาแต่มีคำสั่งออกมาว่าให้เลิกเวทีด่วนเป็นที่ไม่พอใจของฝ่ายมวลชลฝ่ายประชาธิปไตยเป็นอย่างมาก แต่จริงๆจะมีการสังหารฝ่ายประชาธิปไตยโดยมีมือสังหารของฝ่ายเผด็จการเตรียมสังหารประชาชนแล้วจึงมีคำสั่งจากคนที่ฝ่ายประชาธิปไตยรักที่อยู่ในประเทศให้เลิกการชุมนุมด่วนเพราะไม่อยากให้เกิดการสูญเสีย แต่ประชาชนที่ไม่เข้าถึงข้อมูลในขณะนั้นจะเข้าใจว่าผู้นำการชุมนุมในขณะนั้นทำไมไม่ชุมนุมต่อกำลังได้เปรียบ จึงทำให้มวลชลฝ่ายประชาธิปไตยเข้าใจผิด แต่มวลชลก็ยุติการชุมนุมและรอการอภิปรายในสภาว่าจะเดินหน้าต่อเรื่องรัฐธรรมนูญหรือไม่แต่สภาก็ไม่ได้เดินหน้าต่อ ทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่ารัฐบาลไปอยู่กับอำมาตย์แล้ว จะไม่สนับสนุนรัฐบาลแล้ว จะไปเลือก ปชป. แล้ว จะอย่างโน่นนี้นั้นกับรัฐบาล 
          แต่ถ้าพี่น้องสังเกตและคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ให้ดีถ้าเดินหน้าต่อรัฐบาลจะเป็นฝ่ายรับทางการเมือง เพราะพรรคบางพรรคจะโจมตีว่า รัฐบาลไม่เชื่อฟังคำสั่งศาล และถ้าไปถึงการโหวต สว.ที่มีจากการสรรหาบวกกับฝ่ายค้านเสียงก็จะมากกว่ารัฐบาลทำให้รัฐบาลเกิดเป็นฝ่ายรับทางการเมืออย่างหนักหนาและผู้ที่โหวตแพ้อาจมีสิทธิ์ติดคุกกันระนาวเลยทีเดียวเพราะเมื่อเขาชนะบวกกับเขามีอำนาจของอำมาตย์โบราณหนุนหลังเขาเขาสามารถทำได้ทุกอย่างอยู่แล้ว 
       แต่การชะลอการแก้รัฐธรรมนูญมาตรา 291 ในวาระ 3 นั้นทำให้เราพลิกกลับมาเป็นฝ่ายรุกทางการเมืองเพราะอะไรเพราะถ้าศาลตัดสินว่าห้ามแก้รัฐธรรมนูญผิดมาตรา 68 คำถามจากคนที่ไม่สนใจการเมืองจะถามว่าแล้วทำอัยการสูงสุดไม่เห็นด้วยกับการกระทำของรัฐธรรมนูญ และทำไมศาลรัฐธรรมนูญข้ามขั้นตอนทั้งที่รัฐธรรมนูญ กล่าว บุคคลธรรมดาจะยืดฟ้องศาลรัฐธรรมนูญต้องผ่านอัยการสูงสุดก่อน นี่เป็นการกลับกันและเป็นผลบวกที่ทำให้ฝ่ายประชาธิปไตยกลับมาเป็นฝ่ายรุกทางการเมืองและไม่ต้องสู้กับกระแสสังคม และศาลรัฐธรรมนูญจะกลายเป็นโจทย์ของสังคมและเป็นฝ่ายที่ต้องตอบคำถามคนที่ไม่สนใจการเมืองแทน และสิ่งที่ฝ่ายประชาธิปไตยต้องทำนั้น คือ
       1.ไปอธิบายความให้ฝ่ายประชาธิปไตยที่เข้าใจผิดเข้าใจในสถานการณ์การเมืองในขณะนี้ 
       2. ทำให้ประชาชนรู้จักการมองการเมืองในภาพความเป็นจริงว่าสถานการณ์เป็นอย่างไรและผลข้างหน้าจะเป็นอย่างไรฝึกการคิดวิเคราะห์การเมืองจะได้ไม่หลงผิดไปกับกระแส 
       3.ทำให้ประชาชนตาสว่างจนเข้าขั้นตาทิพย์ ตาทิพย์ก็คือสามารถมองเห็นเหตุการณ์ภายหน้าว่าจะเกิดอะไรขึ้น
       4.เตรียมความพร้องของประชาชนธรรมดาเป็นผู้ปฎิบัติการตาสว่างด้วยทั่วกัน
http://redusala.blogspot.com

เมื่อความจริงถูกบิดเบือน


เมื่อความจริงถูกบิดเบือน
วันที่ 09 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ปีที่ 22 ฉบับที่ 7863 ข่าวสดรายวัน
http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURObWIzSXpNREE1TURZMU5RPT0%3D&sectionid=
TURNd05nPT0%3D&day=TWpBeE1pMHdOaTB3T1E9PQ%3D%3D 
'ภาพข่าว'เล่าไม่หมด เมื่อความจริงถูกบิดเบือน
สกู๊ปพิเศษ


           ในยุคโลกาภิวัตน์ อินเตอร์เน็ตและโทรทัศน์ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารกันถ้วนหน้า ต่างจากในสมัยก่อนที่มีเพียงหนังสือพิมพ์ วิทยุ หรือฟังเขาเล่าต่อๆ กันมา
          ข่าวสารต่างๆ รายงานกันฉับไวพร้อมภาพ ในหลายโอกาสก็ถึงกับรายงานสดจากที่เกิดเหตุทีเดียว 
           ในหนังสือวิชาสปช. ตั้งแต่สมัยประถมฯ มีข้อสอบถามว่า สื่อใดน่าเชื่อถือที่สุด ระหว่าง ก. วิทยุ ข. หนังสือพิมพ์ ค.โทรทัศน์ คุณครูก็ต้องเฉลยว่าเป็นโทรทัศน์ทุกครั้ง ด้วยเหตุผลที่ว่า 'เราดูทีวี เรามองเห็นภาพ' เท่ากับว่า ข่าวใดที่มีภาพให้เราเห็นนั้น น่าเชื่อถือเป็นพิเศษ
           สอดคล้องกับคำพังเพยไทยที่ว่า 'สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น' สำนวนฝรั่งก็มีคำว่า A picture is worth a thousand words หรือที่แปลว่า ภาพๆ เดียวเล่าเรื่องราวได้หลายพันคำ อย่างไรก็ตาม ในบางสถานการณ์กลับไม่เป็นเช่นนั้น
         ยกตัวอย่างกรณีภาพแคมป์ผู้อพยพชาวบอสเนียที่สร้างกระแสฮือฮาในโลกตะวันตกเมื่อปี 2535
         ในขณะนั้นกำลังเกิดวิกฤตความขัดแย้งทางเชื้อชาติระหว่างชาวเซิร์บ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศยูโกสลาเวีย กับชาวบอสเนียที่ต้องการแยกดินแดนเป็นเอกราช ทำให้เกิดความหวั่นเกรงว่าสถานการณ์จะบานปลายไปถึงขั้นฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ 
          เมื่อนักข่าวภาคสนามส่งภาพผู้ลี้ภัยที่ผอมแห้งจนเห็นซี่โครงยืนเกาะรั้วลวดหนามอยู่ในค่าย ผู้อพยพเมืองทรอโนโพยี ส่งมายังต้นสังกัดที่อังกฤษ สื่อหลายสำนักเล่นภาพนี้ลงหน้าหนึ่งทันที
          สาธารณชนตะลึงกับภาพที่เห็น เพราะชวนให้นึกถึงเหตุการณ์ฆ่าล้างชาวยิวในค่ายกักกันนาซีเยอรมันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เชื่อว่าภาพนี้จุดกระแสสนับสนุนการแทรกแซงในยูโกสลาเวียโดยกองกำลัง 'นาโต้' ในเวลาต่อมา
          แต่เมื่อเวลาผ่านไป ความจริงก็ปรากฏว่านักข่าวถ่ายภาพยืนอยู่ในบริเวณที่มีรั้วลวดหนามล้อมรอบ บรรดาผู้ลี้ภัยยืนอยู่ข้างนอก ซึ่งค่ายดังกล่าวไม่มีรั้วลวดหนามเลย และผู้อพยพก็เลือกเข้ามาอยู่เอง มิได้ใกล้เคียงค่ายกักกันนาซีดังที่ชาวตะวันตกเข้าใจ 
           ภาพประวัติศาสตร์ของสำนักข่าวเอพี ที่แสดงรูปนายพลเวียดนามใต้ (พันธมิตรของสหรัฐ) ประหารชีวิตชาวเวียดนามเหนือในชุดพลเรือน กลางถนนเมืองไซง่อน ปี 2511 ซึ่งชนะรางวัลพูลิตเซอร์ในปีถัดมา ก่อให้เกิดกระแสต่อต้านสงครามในอเมริกาอย่างมาก เพราะดูเหมือนทหารเวียดนามใต้ป่าเถื่อน แต่แท้จริงแล้ว เหตุการณ์ในภาพคือชายในรูปเป็นสมาชิก ใต้ดินของเวียดกงที่แทรกซึมเข้ามาสังหารทหารและประชาชนในเวียดนามใต้ ก่อนจะถูกจับได้และประหารชีวิตนอกจากสื่อมวลชนแล้ว โลกอินเตอร์เน็ตก็นำเสนอ 'ภาพ' ที่ชวนไขว้เขวหลายครั้ง
         กรณีเมื่อเร็วๆ นี้ มีภาพศพไหม้เกรียมในแอฟริกา ที่ส่งต่อกันใน 'ฟอร์เวิร์ดเมล์' อย่างแพร่หลาย พร้อมคำบรรยายว่าเป็นศพชาวคริสต์ที่ถูกชาวมุสลิมเผาทั้งเป็นในไนจีเรีย ทั้งที่ความจริงเป็นภาพเหยื่อผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถบรรทุกน้ำมันระเบิดในประเทศคองโก
         ขณะที่ภาพทหารสวมรองเท้าบู๊ตเหยียบหน้าอกเด็กหญิงอาหรับ ก็เผยแพร่กันในหมู่นักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิชาวปาเลสไตน์กล่าวหาว่าเป็นฝีมือทหารอิสราเอล แต่จากการตรวจสอบ พบว่ารูปนี้เป็นภาพผู้ประท้วงที่แต่งกายล้อเลียนทหารอิสราเอล และแสดงท่าทางประชดการรุกรานปาเลสไตน์ด้วยการเหยียบเด็กสาวในรูป 
         สังเกตว่ากรณีเหล่านี้ มิใช่การตัดแต่งภาพ แต่เป็นภาพจริงๆ ที่ความหมายบิดเบือนเพราะการเล่าเรื่องที่ผิดจากความเป็นจริง
          ดังนั้น ในสมัยปัจจุบัน ผู้รับข่าวสารคงต้องมีภาษิตใหม่ว่า 'สิบตาเห็นไม่เท่าการใช้วิจารณญาณ'
http://redusala.blogspot.com

ภาพข่าวผู้ประสพภัยจากมุสลิมโรฮิงญา


ภาพข่าวผู้ประสพภัยจากมุสลิมโรฮิงญา
ภาพข่าวผู้ประสพภัยจากมุสลิมโรฮิงญา
http://www.wontharnu.com/index.php/news/109-victims-of-rohingya
-terroists-photo-news#comments 


photo-Hmuu Zaw


   ภาพโจรมุสลิมโรฮิงญาเบงกอลกำลังฉลองชัยหลังจากการโจมตีชนเผ่าอารากัน



หมู่บ้านของผู้นับถือพุทธศาสนาถูกทำลายโดยผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา


Eleven Media Group






Eleven Media Group




Eleven Media Group



Eleven Media Group





Eleven Media Group



photo-Hmuu Zaw


บันทึกภาพขณะเยาวชนมุสลิมโรฮิงญาในระหว่างการก่อจลาจล
ที่กำลังจะเข้าทำร้ายผุ้สื่อข่าวต่างประเทศ




กลุ่มก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญาในระหว่างการก่อการจลาจล





Eleven Media Group



Eleven Media Group



photo-Hmuu Zaw



Eleven Media Group






สตรีชาวอารากันพื้นเมืองกำลังเตรียมที่จะปกป้องตนเองและชุมชน



ชาวอารากันถูกฆ่าตายนอกหมู่บ้านโดยผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา



ชาวอารากันผู้สูงอายุถูกฆ่าตายนอกหมู่บ้านโดยผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา



ครูใหญ่ถูกฆ่าตายโดยเยาวชนผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิง ที่เป็นลูกศิษย์ของเขาเอง


นักเรียนชาวอารากันถูกฆ่าตายที่โดยเพื่อนนักเรียนด้วยกัน
ที่เป็นผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา



www.arakanlaywaddy.com


สตรีวัย 26 ปี ถูกข่มขืนและฆ่าที่ Rambree โดย 3 ผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา




Eleven Media Group


พุทธศาสนิกชนชาวอารากัน หนีภัยไปยังวัดซึ่งกลายเป้นศูนย์อพยพ 
หลังจากที่หมู่บ้านของพวกเขาถูกทำร้ายและยิงโดยผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา




Eleven Media Group



Eleven Media Group


              มุสลิมโรฮิงญา เป็นผู้อพยพผิดกฎหมายจากบังคลาเทศในรัฐยะไข่
ซึ่งตัวเองอ้างว่าเป็นส่วนของหนึ่งของประเทศพม่า มุสลิมก่อการร้ายเหล่านี้
เข้าโจมตีชาวพุทธพื้นเมืองเพื่อแสดงความต่อต้านต่อความพยายาม
ของทางการพม่าในการควบคุมพื่้นที่ ที่ชาวโรฮิงญาต้องการยึดเป็นเขต
ของตนเอง (แบ่งแยกดินแดน) ในพื้นที่ที่พวกมุสลิมโรงฮิงญาต้องการ

              ผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา กลายเป็นภัยคุกคามชนพื้นเมือง
ในอารากัน ที่ต้องประสพชะตากรรมสำหรบการคุกคาม จากการโจมตี
ของผู้ก่อการร้ายมุสลิมโรฮิงญา ประชาชนชาวอารากันที่เคยเป็นสังคมสงบ
และสันติสุข เริ่มกลายเป็นพื้นที่ที่ไม่ปลอดภัย การรุกคืบด้วยการครอบครอง
ที่ดิน และขยายจำนวนประชากรมุสลิมโรฮิงญาได้เริ่มขึ้นในที่ดินของ
ชาวอารากัน และชาวอารากันเริ่มถูกคุกคาม ซึ่งเกิดจากสลิมโรฮิงญา
ซึงในกรณีนี้ มิได้มีสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางศาสนา  แต่มันคือ
การก่อการร้ายของมุสลิม ที่กำลังเป็ยภัยคุกคามประเทศพม่าอยู่ในเวลานี้

Editor
Won Thar Nu
http://redusala.blogspot.com