ดาวน์โหลดคลิ๊ปคนเสื้อแดง
วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วีรพัฒน์ ปริยวงศ์: ยุบศาลไทย แต่เอาใจศาลโลก ?
Posted: 17 Jul 2012 01:41 AM PDT
(อ้างอิงจากเวบไซท์ ประชาไท http://www.prachatai.com)
วีรพัฒน์ ปริยวงศ์
นักกฎหมายอิสระ
http://www.facebook.com/verapat
หลังคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ฉบับ ‘ศุกร์ 13’ ผ่านไป ก็มีข่าวว่า ไทย-กัมพูชาจะ ‘ปรับกำลัง’ บริเวณปราสาทพระวิหาร โดยนำ ‘ทหาร’ บางส่วนออกจาก ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ แล้วนำ ‘ตำรวจ’ เข้าไปแทนที่ แต่อาจยังมีทหารจำนวนหนึ่งคงอยู่เช่นเดิม กล่าวคือ ไม่ใช่ถอนทั้งหมด
การ ‘ปรับกำลัง’ ซึ่งอาจมองว่าทำเป็นมารยาทพองามในครั้งนี้ จะมีขึ้นในวันที่ 18 กรกฎาคม ซึ่งครบรอบ 1 ปี ที่ ‘ศาลโลก’ มีคำสั่งเรื่อง ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ ที่ว่าพอดี (ดูเพิ่มที่ http://bit.ly/VP18July)
แต่ไม่ทันรอให้ปรับกำลังกันเสร็จ ส.ว. คำนูณ สิทธิสมาน ก็ตั้งข้อสังเกตน่าสนใจทำนองว่า ทีกรณี ‘คำสั่งศาลโลก’ รัฐบาลยิ่งลักษณ์บอกว่าต้องปฏิบัติตาม แต่พอเป็น ‘คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ’ ของไทยเอง กลับปฏิเสธว่าศาลไม่มีอำนาจ เช่นนี้ ถือว่า ‘2 มาตรฐาน’ หรือไม่ ?
ไทยโต้แย้งอำนาจ ‘ศาลโลก’ หรือไม่ ?
ในขั้นแรก คงต้องให้ความเป็นธรรมกับ ‘ฝ่ายไทย’ ซึ่งสู้คดีมาตั้งแต่ ‘สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์’ ว่า ไทยเองก็ ‘โต้แย้ง’ อำนาจศาลโลกมาตั้งแต่ต้น และก็ยังคงโต้แย้งต่อไปว่า คำร้องที่กัมพูชาขอให้ศาลโลกตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารนั้น ‘ไม่เข้าเกณฑ์ที่ศาลโลกจะรับพิจารณา’ (inadmissible)
กล่าวคือ ไทยโต้แย้งว่า กัมพูชากำลังขอให้ศาลโลก ‘เพิ่มเติมคำตัดสิน’ ที่เกินเลยไปกว่าเรื่องเดิมที่ตัดสินไว้ใน พ.ศ. 2505 ศาลจึงต้องปฏิเสธคำขอของกัมพูชา
ที่สำคัญ ในคดีนี้เอง ศาลโลกได้ย้ำว่า ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ เป็นเพียงเรื่องมาตรการชั่วคราวที่มุ่งป้องกันการปะทะกันด้วยอาวุธเท่านั้น และย้ำอีกว่า คำสั่งชั่วคราวย่อมไม่ก้าวเข้าไปวินิจฉัยประเด็นเรื่องดินแดนหรือเขตแดน หรือเส้นแผนที่ใด (เช่น ย่อหน้าที่ 21, 38 และ 61 ของคำสั่งฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม 2554)
นักกฎหมายอิสระ
http://www.facebook.com/verapat
หลังคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ฉบับ ‘ศุกร์ 13’ ผ่านไป ก็มีข่าวว่า ไทย-กัมพูชาจะ ‘ปรับกำลัง’ บริเวณปราสาทพระวิหาร โดยนำ ‘ทหาร’ บางส่วนออกจาก ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ แล้วนำ ‘ตำรวจ’ เข้าไปแทนที่ แต่อาจยังมีทหารจำนวนหนึ่งคงอยู่เช่นเดิม กล่าวคือ ไม่ใช่ถอนทั้งหมด
การ ‘ปรับกำลัง’ ซึ่งอาจมองว่าทำเป็นมารยาทพองามในครั้งนี้ จะมีขึ้นในวันที่ 18 กรกฎาคม ซึ่งครบรอบ 1 ปี ที่ ‘ศาลโลก’ มีคำสั่งเรื่อง ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ ที่ว่าพอดี (ดูเพิ่มที่ http://bit.ly/VP18July)
แต่ไม่ทันรอให้ปรับกำลังกันเสร็จ ส.ว. คำนูณ สิทธิสมาน ก็ตั้งข้อสังเกตน่าสนใจทำนองว่า ทีกรณี ‘คำสั่งศาลโลก’ รัฐบาลยิ่งลักษณ์บอกว่าต้องปฏิบัติตาม แต่พอเป็น ‘คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ’ ของไทยเอง กลับปฏิเสธว่าศาลไม่มีอำนาจ เช่นนี้ ถือว่า ‘2 มาตรฐาน’ หรือไม่ ?
ไทยโต้แย้งอำนาจ ‘ศาลโลก’ หรือไม่ ?
ในขั้นแรก คงต้องให้ความเป็นธรรมกับ ‘ฝ่ายไทย’ ซึ่งสู้คดีมาตั้งแต่ ‘สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์’ ว่า ไทยเองก็ ‘โต้แย้ง’ อำนาจศาลโลกมาตั้งแต่ต้น และก็ยังคงโต้แย้งต่อไปว่า คำร้องที่กัมพูชาขอให้ศาลโลกตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารนั้น ‘ไม่เข้าเกณฑ์ที่ศาลโลกจะรับพิจารณา’ (inadmissible)
กล่าวคือ ไทยโต้แย้งว่า กัมพูชากำลังขอให้ศาลโลก ‘เพิ่มเติมคำตัดสิน’ ที่เกินเลยไปกว่าเรื่องเดิมที่ตัดสินไว้ใน พ.ศ. 2505 ศาลจึงต้องปฏิเสธคำขอของกัมพูชา
ที่สำคัญ ในคดีนี้เอง ศาลโลกได้ย้ำว่า ‘เขตปลอดทหารชั่วคราว’ เป็นเพียงเรื่องมาตรการชั่วคราวที่มุ่งป้องกันการปะทะกันด้วยอาวุธเท่านั้น และย้ำอีกว่า คำสั่งชั่วคราวย่อมไม่ก้าวเข้าไปวินิจฉัยประเด็นเรื่องดินแดนหรือเขตแดน หรือเส้นแผนที่ใด (เช่น ย่อหน้าที่ 21, 38 และ 61 ของคำสั่งฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม 2554)
ยิ่งไปกว่านั้น หากพิจารณาคดีศาลโลกในอดีต เช่น คดี Avena ระหว่าง เม็กซิโกและสหรัฐฯ ก็จะเห็นว่า แม้ศาลโลกจะรับคำร้องและมีคำสั่งมาตราการชั่วคราวไประหว่างพิจารณาแล้วก็ตาม แต่ในที่สุด ศาลโลกก็ยังสามารถพิพากษาว่าคำร้อง ‘ไม่เข้าเกณฑ์ที่ศาลจะรับพิจารณา’ ได้
ดังนั้น แม้ไทยจะปฎิบัติตามคำสั่งชั่วคราวก็ตาม แต่ศาลโลกก็ยังคงรับฟังข้อโต้แย้งของไทยเรื่อง ‘อำนาจศาล’ อยู่ และหากจะบอกว่า ‘ฝ่ายไทย’ (ไม่ว่าจะรัฐบาลชุดไหน) ยอมตามศาลโลกหมดเลย ก็คงไม่เป็นธรรมนัก
ตรงกันข้าม หากกัมพูชายอมปรับกำลัง แต่ฝ่ายไทยขึงขังไม่ฟังศาลโลก ผู้พิพากษาบางท่านอาจนำพฤติการณ์ความแข็งกร้าวของฝ่ายไทยไปประกอบการตีความในคดี ซึ่งอาจไม่เป็นคุณต่อฝ่ายไทย ก็เป็นได้
ยุบศาลไทย แต่เอาใจศาลโลก ?
หากผู้ใดประสงค์จะเทียบกรณี ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ ของไทย กับ ‘ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ’ ของชาวโลก ก็ขอให้คำนึงถึงข้อพิจารณาดังนี้
ประการแรก อำนาจของ ‘ศาลโลก’ เรื่อง คำสั่งมาตรการชั่วคราวก็ดี หรือ เขตอำนาจ (jurisdiction) ในการรับคำร้องขอให้ตีความคำพิพากษาก็ดี ถูกกำหนดไว้อย่างชัดเจนตาม ‘ตัวบทสนธิสัญญา’ ซึ่งประเทศไทยยอมรับผูกพันในฐานะสมาชิกของสหประชาชาติ และแม้แต่ ‘รัฐธรรมนูญไทย’ มาตรา 82 ก็บัญญัติให้ไทยพึงปฏิบัติตาม
ผิดจากกรณี ‘ศาลรัฐธรรมนูญไทย’ ที่ละเมิดไวยากรณ์ของ มาตรา 68 ประเภทที่ครูภาษาไทยต้องส่ายหน้า จากนั้นก็ปลุกเสกเจตนารมณ์ (ของศาล) ขึ้นเองกลางอากาศ แต่สุดท้ายพออ่านคำวินิจฉัย กลับไม่แน่ใจในอำนาจตนเอง เลยได้แต่ยกคำร้อง แต่ก็อุตส่าห์สอดแทรกข้อเสนอแนะเรื่อง ‘การลงประชามติ’ ทั้งที่ไม่มีกฎหมายใดรองรับ
กล่าวคือ ‘ศาลรัฐธรรมนูญไทย’ ไม่มีแม้แต่ ‘เขตอำนาจ’ จะรับพิจารณาคดีการแก้รัฐธรรมนูญแต่แรก มิพักต้องพูดถึงความล้มเหลวของศาลในการอธิบายว่าคำร้องเข้า ‘หลักเกณฑ์การรับพิจารณา’ (inadmissible) หรือไม่ เช่น คำร้องที่ยื่นโดยคุณเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ ซึ่งศาลกลับมีคำสั่งจำหน่ายคำร้องได้อย่างสะดวกมือโดยไม่ทราบว่ามีหลักเกณฑ์อย่างไร
ศาลไทย ‘ใหญ่’ คับโลก ?
ความพิสดารต่อไปของ ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ ไทยที่อาจเกิดได้ คือ การใช้อำนาจตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา 190 ที่แม้จะไม่ได้บัญญัติถึงกรณีการปฎิบัติตามคำสั่งศาลโลกไว้ แต่ก็อาจมีผู้ตีความว่า ไทยและกัมพูชาจะไปตกลงถอนหรือปรับกำลังทหารตามคำสั่งศาลโลกไม่ได้ แต่อาจต้องขอสภาก่อน
โปรดอย่าลืมว่า คดี มาตรา 68 แสดงให้เห็นแล้วว่า ศาลไทย พร้อมที่จะปลุกเสก อำนาจคำสั่งชั่วคราว เพื่อให้รัฐสภาไทยชะลอการแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ จึงคิดต่อว่า ศาลไทยจะสั่งฝ่ายบริหารไทย ให้ชะลอการถอนทหารร่วมกับกัมพูชาตามคำสั่งศาลโลกได้หรือไม่ !!??
หากพิจารณาหลักการของ มาตรา 190 ให้ถ่องแท้ การดำเนินการใดที่เป็นการประสานงานเป็นการชั่วคราวระหว่างฝ่ายบริหารของไทยและต่างประเทศ โดยเป็นเรื่องฝ่ายบริหารโดยแท้ เช่น การควบคุมเคลื่อนย้ายกำลังพล ซึ่งสภาได้มอบอำนาจตามกฎหมายให้ฝ่ายบริหารจัดการอยู่แล้ว การดังกล่าวก็มิต้องด้วยกรณีของมาตรา 190 ที่ต้องขอสภา
ในทางกลับกัน การพยายามยัดเยียดให้อำนาจของฝ่ายบริหารโดยแท้ เช่น การควบคุมเคลื่อนย้ายกำลังพลทหาร ตกอยู่ภายใต้อำนาจนิติบัญญัติหรือตุลาการตามมาตรา 190 นั้น นอกจากจะทำลายหลักการแบ่งแยกอำนาจและความรับผิดชอบในทางประชาธิปไตยแล้ว ยังจะก่อความไร้ประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดิน จนสุ่มเสี่ยงต่อการทำลายสันติภาพระหว่างประเทศในที่สุด
เพื่อไทยควรเดินหน้า วาระ 3 หรือไม่ ?
ข้อกฎหมายถูกกล่าวถึงไปชัดพอแล้ว สิ่งที่ไม่ชัดกลับเป็นข้อเท็จจริงที่ปรากฏจากศาล เพราะบัดนี้ ก็ยังไม่ชัดเจนว่า ศาลได้ลงมติวินิจฉัยประเด็นที่ 2 เรื่องการทำประชามติ ตามที่ข่าวรายงานว่ามีมติ 8 -0 หรือไม่ ? และหากมีการงดเว้นไม่ลงมติ จะถือว่าศาลทำผิดกฎหมายหรือไม่ ? (ดู http://bit.ly/Praden2 )
ผู้เขียนกล่าวได้แต่เพียงว่า รัฐสภาต้องยึดกฎหมายให้อยู่เหนือศาลรัฐธรรมนูญ หากศาลเองไม่กล้าจะวินิจฉัยให้ชัดว่า “ต้อง” ทำประชามติหรือไม่ แต่เลือกใช้ถ้อยคำว่า “ควร” ก็ย่อมเป็นหลักฐานว่าศาลยอมให้รัฐสภามีดุลพินิจในเรื่องดังกล่าว ซึ่งในการเดินหน้าต่อนั้น ผู้เขียนขอเสนอแนวทาง ที่สอดคล้องกับหลักกฎหมาย และน่าจะเป็นธรรมกับทุกฝ่าย ดังนี้
(1) แทนที่สภาจะแสดงท่าทีไม่ฟังศาล สภาก็อาจเดินหน้าอย่างแยบยล โดยการน้อมรับความห่วงใยของศาลเรื่องการทำประชามติมาปฏิบัติ ‘ภายใต้กลไกและกรอบอำนาจของสภา’ เช่น การให้ ส.ส. ส.ว. ลงพื้นที่รับฟังความเห็นของประชาชนว่า ต้องการให้มีการเดินหน้าลงมติในวาระ 3 หรือไม่ แล้วจึงนำความเห็นจากแต่ละเขตเลือกตั้งมารับฟังแทนการทำประชามติ ก่อนเดินหน้าต่อ วาระ 3
(2) หากความเห็นที่ว่ายังไม่เป็นที่พอใจของผู้คัดค้าน รัฐสภาสามารถให้คำมั่นทางการเมืองแก่ประชาชนว่า ในวันที่ไปเลือกตั้ง ส.ส.ร. หากประชาชนกาช่อง ‘ไม่ประสงค์ลงคะแนน’ (Vote No) รวมกันทั้งประเทศสูงเป็นลำดับที่ 1 สภาก็จะกลับไปแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อยกเลิกการตั้ง ส.ส.ร. เพราะถือว่าประชาชนแสดงความประสงค์ว่าไม่ต้องการให้มีการตั้ง ส.ส.ร. (โดยยอมรับข้อจำกัดว่า อาจมีประชาชนบางส่วนต้องการให้มี ส.ส.ร. แต่ไม่ประสงค์เลือก)
(3) หากกระบวนการ Vote No ยังชัดเจนไม่พอ ก็ขอให้ผู้ที่ต่อต้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ โปรดส่งตัวแทนมาลงสมัครเป็น ส.ส.ร. ในแต่ละเขต และประกาศเจตนารมณ์คัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้ชัดแจ้ง หากผู้ต่อต้านเหล่านี้ได้รับเลือกเข้าไปเป็น ส.ส.ร. เสียงข้างมาก ก็เพียงแต่ลาออกจากการเป็น ส.ส.ร. ซึ่งจะทำให้กระบวนการ ส.ส.ร. ต้องสิ้นสุดลงตาม ร่าง มาตรา 291/15
วิธีที่กล่าวมา เป็นขั้นตอนที่ประชาชนสามารถร่วมตัดสินใจยับยั้งการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับได้แม้จะมีการลงมติในวาระ 3 ไปแล้ว ที่สำคัญ แม้ ส.ส.ร. จะร่างรัฐธรรมนูญเสร็จ แต่สุดท้ายก็จะต้องให้ประชาชนได้ลงประชามติเพื่อเลือกว่า จะเก็บรัฐธรรมนูญฉบับเดิมไว้หรือไม่ รัฐสภาจึงไม่มีเหตุผลใดที่จะต้องยอมทำประชามติก่อนการลงมติ วาระ 3 ซึ่งไม่มีกฎหมายรองรับ อีกทั้งสิ้นเปลือง และไม่มีตัวเลือกที่ชัดเจนอีกด้วย
‘นิติราษฎร์’ เสนอยุบเลิกศาล ?
แม้ผู้เขียนจะวิพากษ์ ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ ไว้มาก แต่ก็ทำไปด้วยความศรัทธาในสถาบันตุลาการและหวังให้วัฒนธรรมการวิพากษ์ตามครรลองประชาธิปไตยเป็นประหนึ่ง ‘วัคซีนทางปัญญา’ ที่สังคมจะนำมาใช้สร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ทั้งตนเองและ ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ ในระยะยาว
ผู้เขียนจึงต้องคิดหนัก เมื่อ ‘นิติราษฎร์’ ได้นำเสนอร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อยุบเลิกศาลรัฐธรรมนูญ และจัดตั้ง ‘คณะตุลาการพิทักษ์ระบอบรัฐธรรมนูญ’ ขึ้นมาแทน
ผู้เขียนเห็นพ้องในแนวคิดว่า ศาลรัฐธรรมนูญต้องถูกปฏิรูปอย่างเร่งด่วนโดยเฉพาะในแง่ที่มาของตุลาการ และเห็นด้วยกับแนวคิดที่ว่า ‘ระบอบรัฐธรรมนูญ’ ต้องคงอยู่และสำคัญกว่า ‘ตัวรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ...’ ซึ่งอาจเปลี่ยนไปตามกาลเวลา
แต่ผู้เขียนก็ฝากความห่วงใยเบื้องต้น 7 ข้อ ให้ ‘นิติราษฎร์ ทั้ง 7’ โปรดทบทวนและอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้
(1) การที่นิติราษฎร์เสนอให้ฝ่ายการเมือง (ส.ส. ส.ว. และ ครม.) เป็นผู้เลือกตุลาการทั้งหมดโดยไม่มีการกลั่นกรองหรือร่วมกระบวนการโดยองค์กรอื่นที่ไม่ใช่ฝ่ายการเมือง (แม้จะให้มีตุลาการมาจากศาลสูงอย่างน้อยสองคน หรือ ส.ว. จะถูกสรรหามาบางส่วนก็ตาม) จะทำให้เกิดปัญหาอย่างน้อยสองประการดังนี้ หรือไม่ ?
(1.1) ตุลาการไม่เป็นอิสระจากฝ่ายการเมือง จนนำมาสู่ความอ่อนแอในการตรวจสอบผู้ที่เลือกตน และขาดความน่าเชื่อถือยิ่งกว่าศาลชุดเดิม
(1.2) ตุลาการทั้ง 8 ถูกเลือกโดยฝ่ายการเมืองที่ยึดโยงเสียงข้างมากทั้งหมด จนสุ่มเสี่ยงต่อกรณี ‘ทรราชเสียงข้างมาก’ (tyranny of the majority) เช่น การตีความกฎหมายโดยไม่คำนึงถึงสิทธิของเสียงข้างน้อย (โปรดสังเกตว่า การทำให้ตุลาการยึดโยงกับประชาชนอาจทำได้หลายรูปแบบและอาศัยส่วนร่วมได้จากองค์กรอื่นที่ไม่ใช่องค์กรการเมืองทั้งหมด นอกจากนี้ คุณค่าระดับอุดมการณ์ของระบอบประชาธิปไตยประการหนึ่ง คือ การเคารพความประสงค์ของเสียงข้างมาก แต่คุ้มครองสิทธิของเสียงข้างน้อย ซึ่งในทางหนึ่งอาจแสดงออกได้โดยการมีองค์กรตุลาการที่มีความเป็นตัวแทนของเสียงข้างน้อยโดยปริยาย หรือการอาศัยกลไกทางการเมืองในบริบทเฉพาะ เช่น การเสนอชื่อตุลาการโดยพรรคการเมือง 2 ขั้วที่สลับกันเป็นรัฐบาล)ใน
(2) นิติราษฎร์เสนอให้มีการเลือกผู้พิพากษาจากศาลสูงอย่างน้อยสองคน แต่หากไม่มีผู้พิพากษาศาลสูงยอมให้นักการเมืองมาชี้นิ้วเลือกเป็นตุลาการ จะมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร ?
(3) นิติราษฎร์เสนอให้อำนาจของคณะตุลาการชุดใหม่มีอำนาจดังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีอยู่ในปัจจุบัน (ร่างมาตรา 5) แต่วิธีการร่างของนิติราษฎร์ทำให้เกิดข้อสงสัยว่า อำนาจการวินิจฉัยกฎหมายที่ถูกโต้แย้งในคดีตาม มาตรา 211 ก็ดี อำนาจการรับคำร้องโดยตรงจากประชาชนตาม มาตรา 212 ก็ดี หรือ อำนาจในการชี้ขาดข้อขัดแย้งระหว่างองค์กรรัฐธรรมนูญตาม มาตรา 214 ก็ดี จะถูกยุบเลิกไปโดยเหตุการยกเลิก หมวด 10 ส่วนที่ 2 ทั้งหมด (ร่างมาตรา 2) หรือไม่ และหากเลิกอำนาจเช่นนั้น จะจัดการคดีที่ค้างมาตาม ร่างมาตรา 8 อย่างไร ?
(4) นิติราษฎร์เสนอให้เพิ่มคำว่า “หลักการนิติรัฐประชาธิปไตย” (ร่างมาตรา 4 ในส่วน มาตรา 196/3) ซึ่งแม้นิติราษฎร์อาจมีนิยามทางวิชาการของกลุ่มเอง แต่อาจมีผู้สงสัยว่า “หลักการนิติรัฐประชาธิปไตย” ที่ว่านี้ แตกต่างไปจาก “หลักนิติธรรม” ซึ่งมีอยู่แล้วตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 หรือไม่ และการบัญญัติคำที่ต่างกันนี้ จะนำไปสู่ปัญหาว่าคณะตุลาการชุดนี้จะแตกต่างไปจากองค์กรอื่นของรัฐที่ถูกกำหนดให้ยึด “หลักนิติธรรม” หรือไม่ ?
(5) การกำหนดให้คณะตุลาการมีทั้งหมด 8 คน ซึ่งเป็นเลขคู่ และกำหนดว่ามติวินิจฉัยที่คะแนนเสียงเท่ากัน “ให้คำร้องเป็นอันตกไป” (ร่างมาตรา 4 ในส่วน มาตรา 196/11) นั้น มีผลในทางรัฐธรรมนูญอย่างไร เช่น หากเป็นคำร้องของประชาชนที่โต้แย้งกฎหมายที่ละเมิดสิทธิเสรีภาพ เท่ากับว่าคณะตุลาการไม่อาจคุ้มรองสิทธิเสรีภาพได้กระนั้นหรือ ? หรือหากเป็นกรณีที่มีความขัดแย้งระหว่างองค์กรตามรัฐธรรมนูญ จะหาทางออกอย่างไร ?
(6) ถ้อยคำของ ร่างมาตรา 4 ในส่วน มาตรา 196/13 ที่ว่า “ห้ามมิให้คณะตุลาการพิทักษ์ระบอบรัฐธรรมนูญกระทำการใดอันมีผลเป็นการขัดขวางการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ” นั้นกินความกว้างขวางมาก และอาจมีปัญหาในการตีความ เช่น หากรัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติใดที่มีสาระสำคัญเป็นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ การขัดขวางการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่ว่าจะถูกตีความอย่างไร หรือ แม้แต่การใช้อำนาจอื่นของคณะตุลาการที่รับรองไว้ เช่น กรณีตาม มาตรา 65 หากมติของพรรคมีความสัมพันธ์กับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ คณะตุลาการจะยังสามารถวินิจฉัยยกเลิกมติได้หรือไม่ ?
(7) โดยรวมแล้ว ข้อเสนอของนิติราษฎร์สามารถบรรลุผลตามเจตนารมณ์ได้โดยวิธีการอื่น ที่ไม่ต้องยุบเลิกความเป็นสถาบันของศาลรัฐธรรมนูญได้หรือไม่ ? เช่น การแก้ไขที่มาและจำนวนของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าจะโดยการคงตุลาการชุดเดิมไว้และสรรหาหรือเลือกเพิ่มอีก 6 คน หรือ โดยการกำหนดให้ตุลาการทั้ง 9 คนพ้นจากตำแหน่ง และสรรหาหรือเลือกใหม่ตามกระบวนการที่ยึดโยงกับประชาชนและหลากหลายมากขึ้น แต่ทั้งนี้ โดยการรักษาคุณค่าและประสบการณ์ของความเป็นสถาบันศาลไว้ ?
โปรดระวัง ศาล 3จี ให้ดี !
พฤติกรรมการลุอำนาจและล่วงล้ำกฎหมายไม่ได้เกิดขึ้นได้เฉพาะที่ ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ หรือ องค์กรการเมือง เท่านั้น แต่คนไทยโปรดระวังว่า ผู้ใช้อำนาจรัฐ หากไม่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ตรวจสอบ ก็มีแนวโน้มจะทำผิดกฎหมายและเอาเปรียบประชาชนได้เสมอ
ผู้เขียนเองได้ติดตามการใช้อำนาจของ กสทช. ในการออก “ร่างประกาศ กสทช. ว่าด้วยข้อห้ามการกระทำที่มีลักษณะที่เป็นการครอบงำกิจการโดยคนต่างด้าว พ.ศ. …” ซึ่งจะถูกนำมาใช้ “คัดกรอง” บริษัทที่จะเข้ามาประมูลขุมทรัพย์คลื่น 3จี ปลายปีนี้
ผู้เขียนเกรงว่า กสทช. กำลังใช้อำนาจที่ “เกินกฎหมาย” “ผิดตรรกะ” “ขัดหลักนิติศาสตร์” และ “ละเมิดพันธกรณีระหว่างประเทศ” ที่สำคัญ ยังเป็นการใช้อำนาจที่ “ทำลายประชาธิปไตย” โดย กสทช. รวบอำนาจให้ตนแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายได้เองแทน “รัฐสภา” แถมอุดช่องว่างกฎหมายได้เองแทน “ศาล” อีกทั้งยังกำหนดนโยบายการค้าการลงทุนของชาติได้เองแทน “รัฐบาล” !
ที่ผ่านมาผู้เขียนได้แสดงความเห็นเรื่องนี้ไปยัง กสทช. หลายครั้ง แต่ กสทช. ไม่มีทีท่าจะรับฟัง และจะยังคงเดินหน้าออกร่างประกาศฯ ดังกล่าว ในช่วงวันที่ 18 นี้ ซึ่งอาจนำไปสู่การฟ้องร้องเพื่อขัดขวางการประมูล 3จี หรือล้มประมูล 3จี ปลายปีนี้ และประชาชนอย่างพวกเรา ก็ได้แต่กระพริบตาปริบๆ ไม่ต่างจากที่ กสทช. ปล่อยให้ ‘จอดำ’ เกิดขึ้นมาแล้ว
ดังนั้น นอกจากเรื่อง ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ และ ‘ศาลโลก’ ก็ขอเชิญชวนประชาชนผู้ใช้มือถือทั้งประเทศ อย่าลืมตรวจสอบ กสทช. ที่กำลังลุอำนาจกลายมาเป็น ศาล 3จี เร็วจี๋จนจับไม่ทัน ! (ดูเพิ่มที่ http://bit.ly/3Gthai )
ติดตามความเคลื่อนไหวของ ประชาไท ทางอีเมล
คลิกอ่าน http://goo.gl/8xIcV หรือเฟซบุ๊ค http://fb.me/Prachatai
นักโทษฝรั่งบางขวาง "ถ่ายวิดิโออัพขึ้นยูทูป" จากคุก???
อึ้ง! นักโทษฝรั่งบางขวาง "ถ่ายวิดิโออัพขึ้นยูทูป" จากคุก???
มีผู้ใช้บริการยูทูปได้ขึ้นคลิปหนึ่ง ใช้ชื่อหัวข้อว่า Peek inside a Thai prison ได้เผยแพร่ภาพแห่งหนึ่งซึ่งอ้างว่าเป็นคุกบางขวางของประเทศไทย มีการจุดไฟเผาจดหมายเพื่อก่อเตาบาบิคิว พร้อมถ่ายภาพผู้อื่น ซึ่งอ้างว่าเป็นผู้ต้องขังในเรือนจำด้วย
ช๊อคโลก เผยข้อมูล รัฐบาลอภิสิทธิ์ให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนมรดกโลกไปแล้ว
ช็อค! "ดร.พิทยา" แฉ!
6. ต่อข้อเสนอของนายชวนนท์ฯ ที่ให้นายกยิ่งลักษณ์ฯ ไปถามสมเด็จฮุนเซนว่าไทยขอเป็นประธานร่วมกับกัมพูชาได้หรือไม่ ผมขอตอบว่า การเมืองระหว่างประเทศหรือการประชุมระดับสากลมิไช่งานสำหรับมือสมัครเล่นที่ไม่ยึดถือกติกาสากล การเป็นเจ้าภาพการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 37 ในปีหน้าเป็นเรื่องที่คณะกรรมการมรดกโลกจะตัดสินในที่ประชุม ไม่ไช่เรื่องระหว่างผู้นำของสองประเทศที่จะมาตกลงกันเองหลังมติที่ประชุมฯ
"รัฐบาลอภิสิทธิ์ให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนมรดกโลกไปแล้ว!"
วันพุธ 18 กรกฏาคม 2555 เรียนท่านสื่อมวลชน ที่นับถือ เรื่อง ไทยเป็นรองประธานการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 37 เพื่อรักษาผลประโยชน์และเกียรติภูมิของประเทศไทย โดย พิทยา พุกกะมาน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทยที่ไปประชุมคณะกรรมการมรดกโลก
ตามที่นายชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุด ได้มีบันทึกลง facebook เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม2555
เรื่อง “บันทึกยินยอมยกสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพการประชุมมรดกโลกให้เขมรฝ่ายเดียว”โจมตีการปฏิบัติหน้าที่ของผมในฐานะเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยที่ไปร่วมประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 36 ที่นคร เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย นั้น ผมรู้สึกเสียดายที่ผู้อ่านได้รับทราบข้อเท็จจริงเพียงบางส่วน
แต่ที่น่าเศร้าที่สุดคือ คำกล่าวหาของนายชวนนท์ฯ ล้วนแต่มาจากข้อสมมุติฐานที่ไม่ตรงกับข้อเท็จจริงซึ่งอาจจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิดเพื่อหวังผลทางการเมือง ผมจึงขอชี้แจงประเด็นที่นายชวนนท์ฯ ได้หยิบยกขึ้นมาโจมตีผมดังต่อไปนี้
1. ต่อคำกล่าวหาว่าผมไปซูเอี๋ยกับกัมพูชาล่วงหน้านั้น ขอเรียนว่า คณะผู้แทนไทยมิได้ตั้งธงเพื่อซูเอี๋ยกับกัมพูชามาก่อนและก็มิได้แอบทำข้อตกลงอย่างใดกับคณะผู้แทนกัมพูชาในที่ประชุมฯ ผมกับหัวหน้าคณะผู้แทนกัมพูชามิได้รู้จักคุ้นเคยกันมาก่อน เมื่อเขาพบผมในที่ประชุม เขาไม่กล้าเดินเข้ามาทักทายผมเพราะไม่แน่ใจว่าไทยจะเป็นมิตรหรือไม่เนื่องจากเคยได้ประสบการณ์ที่ไม่ดีมาก่อนแล้วในการประชุมในปีที่ผ่านมาตอน ปชป. เป็นรัฐบาล ผมจึงต้องให้ความมั่นใจว่ารัฐบาลไทยในปัจจุบันมีนโยบายที่สร้างสรรค์กับประเทศเพื่อนบ้าน ดังนั้น เมื่อเราเจอกันในที่ประชุม ฯ เราก็คุยกันฉันท์เพื่อนบ้าน เพราะผมมิได้มาประชุมเพื่อสร้างศัตรูกับรัฐภาคีและสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลก และไม่ประสงค์จะเป็นต้นเหตุของความขัดแย้งหรือบาดหมางระหว่างสองประเทศ หรือทำตัวให้เป็นปัญหาในที่ประชุมเหมือนสมัยรัฐบาลของ ปชป. ซึ่งจะทำให้ชาวโลกมองไทยไปในทางลบ
วันพุธ 18 กรกฏาคม 2555 เรียนท่านสื่อมวลชน ที่นับถือ เรื่อง ไทยเป็นรองประธานการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 37 เพื่อรักษาผลประโยชน์และเกียรติภูมิของประเทศไทย โดย พิทยา พุกกะมาน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทยที่ไปประชุมคณะกรรมการมรดกโลก
ตามที่นายชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุด ได้มีบันทึกลง facebook เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม2555
เรื่อง “บันทึกยินยอมยกสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพการประชุมมรดกโลกให้เขมรฝ่ายเดียว”โจมตีการปฏิบัติหน้าที่ของผมในฐานะเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยที่ไปร่วมประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 36 ที่นคร เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย นั้น ผมรู้สึกเสียดายที่ผู้อ่านได้รับทราบข้อเท็จจริงเพียงบางส่วน
แต่ที่น่าเศร้าที่สุดคือ คำกล่าวหาของนายชวนนท์ฯ ล้วนแต่มาจากข้อสมมุติฐานที่ไม่ตรงกับข้อเท็จจริงซึ่งอาจจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิดเพื่อหวังผลทางการเมือง ผมจึงขอชี้แจงประเด็นที่นายชวนนท์ฯ ได้หยิบยกขึ้นมาโจมตีผมดังต่อไปนี้
1. ต่อคำกล่าวหาว่าผมไปซูเอี๋ยกับกัมพูชาล่วงหน้านั้น ขอเรียนว่า คณะผู้แทนไทยมิได้ตั้งธงเพื่อซูเอี๋ยกับกัมพูชามาก่อนและก็มิได้แอบทำข้อตกลงอย่างใดกับคณะผู้แทนกัมพูชาในที่ประชุมฯ ผมกับหัวหน้าคณะผู้แทนกัมพูชามิได้รู้จักคุ้นเคยกันมาก่อน เมื่อเขาพบผมในที่ประชุม เขาไม่กล้าเดินเข้ามาทักทายผมเพราะไม่แน่ใจว่าไทยจะเป็นมิตรหรือไม่เนื่องจากเคยได้ประสบการณ์ที่ไม่ดีมาก่อนแล้วในการประชุมในปีที่ผ่านมาตอน ปชป. เป็นรัฐบาล ผมจึงต้องให้ความมั่นใจว่ารัฐบาลไทยในปัจจุบันมีนโยบายที่สร้างสรรค์กับประเทศเพื่อนบ้าน ดังนั้น เมื่อเราเจอกันในที่ประชุม ฯ เราก็คุยกันฉันท์เพื่อนบ้าน เพราะผมมิได้มาประชุมเพื่อสร้างศัตรูกับรัฐภาคีและสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลก และไม่ประสงค์จะเป็นต้นเหตุของความขัดแย้งหรือบาดหมางระหว่างสองประเทศ หรือทำตัวให้เป็นปัญหาในที่ประชุมเหมือนสมัยรัฐบาลของ ปชป. ซึ่งจะทำให้ชาวโลกมองไทยไปในทางลบ
เมื่อฝ่ายกัมพูชามาทาบทามให้ไทยสนับสนุนกัมพูชาเป็นประธานในสมัยที่37 (ปี 2556) ในช่วงท้ายของการประชุมฯ ผมก็ได้ตอบไปว่าผมไม่อยู่ในฐานะที่จะแสดงท่าทีในเรื่องนี้ได้ และเมื่อมีการเสนอให้กัมพูชาเป็นเจ้าภาพในการประชุมฯ สมัยที่ 37 คณะผู้แทนไทยก็มิได้กล่าวสนับสนุนกัมพูชาแต่อย่างใด แต่เนื่องจากไม่มีประเทศใดถูกเสนอให้เป็นประธานฯ แข่งกับกัมพูชา ญี่ปุ่นจึงได้เสนอให้กัมพูชาเป็นเจ้าภาพในการประชุมคณะกรรมการารดกโลก ครั้งที่ 37 เป็นให้ประธานที่ประชุมมีมติให้กัมพูชาเป็นประธานในคราวต่อไป ต่อมา มาเลเซียได้เสนอให้ไทยเป็นรองประธานและได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมฯ ฉะนั้น ข้อกล่าวหาที่ว่าไทยกับกัมพูชาซูเอี๋ยกันจึงไม่เป็นความจริง เพราะญี่ปุ่นไม่ใช่ไทยเป็นฝ่ายเสนอให้กัมพูชาเป็นประธาน ในขณะที่มาเลเซียไม่ใช่กัมพูชาที่เสนอให้ไทยเป็นรองประธาน
2. ต่อคำถามที่ว่าทำไมไทยถึงไม่ค้านการเป็นประธานของกัมพูชา คำตอบก็คือ ถ้าเราจะค้าน เราก็ควรจะต้องมีเหตุผลที่ฟังขึ้นและเป็นที่ยอมรับของที่ประชุม มิฉะนั้นไทยจะถูกมองเป็นเด็กเกเรหรือนักเลงโตรังแกประเทศเล็กกว่า ซึ่งจะทำให้รัฐภาคีเห็นใจกัมพูชามากขึ้นในขณะที่มีอคติกับประเทศไทย เมื่อเป็นเช่นนั้น ไทยก็จะไม่มีมิตรประเทศเหลืออยู่เลย ซึ่งแตกต่างกับรัฐบาลชุดก่อนที่สร้างศัตรูไว้ทั่ว จึงเป็นภาระหนักสำหรับผมที่จะต้องแก้ไขภาพลักษณ์ที่ลบของไทยให้ดีขึ้นอนึ่ง ขอเรียนเพิ่มเติมด้วยว่า ในวันแรก ๆ ของการประชุม รู้สึกว่าเจ้าหน้าที่และสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลกมิได้แสดงท่าทีเป็นมิตรกับไทย แต่เมื่อการประชุมดำเนินไปได้ไม่กี่วัน ภาพพจน์ของไทยได้เปลี่ยนไปในทางที่ดีจากการใช้การทูตที่เปิดกว้าง สร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับทุกประเทศในขณะที่รักษาผลประโยชน์ของไทยและดำเนินการตามกรอบการเจรจาที่รัฐบาลได้วางไว้อย่างเคร่งครัด
3. ต่อข้ออ้างของนายชวนนท์ฯ ว่าเป็นมติของ ครม. ชุดที่แล้วที่จะต้องให้ไทยสมัครเป็นเจ้าภาพแข่งขันกับกัมพูชานั้น
2. ต่อคำถามที่ว่าทำไมไทยถึงไม่ค้านการเป็นประธานของกัมพูชา คำตอบก็คือ ถ้าเราจะค้าน เราก็ควรจะต้องมีเหตุผลที่ฟังขึ้นและเป็นที่ยอมรับของที่ประชุม มิฉะนั้นไทยจะถูกมองเป็นเด็กเกเรหรือนักเลงโตรังแกประเทศเล็กกว่า ซึ่งจะทำให้รัฐภาคีเห็นใจกัมพูชามากขึ้นในขณะที่มีอคติกับประเทศไทย เมื่อเป็นเช่นนั้น ไทยก็จะไม่มีมิตรประเทศเหลืออยู่เลย ซึ่งแตกต่างกับรัฐบาลชุดก่อนที่สร้างศัตรูไว้ทั่ว จึงเป็นภาระหนักสำหรับผมที่จะต้องแก้ไขภาพลักษณ์ที่ลบของไทยให้ดีขึ้นอนึ่ง ขอเรียนเพิ่มเติมด้วยว่า ในวันแรก ๆ ของการประชุม รู้สึกว่าเจ้าหน้าที่และสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลกมิได้แสดงท่าทีเป็นมิตรกับไทย แต่เมื่อการประชุมดำเนินไปได้ไม่กี่วัน ภาพพจน์ของไทยได้เปลี่ยนไปในทางที่ดีจากการใช้การทูตที่เปิดกว้าง สร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับทุกประเทศในขณะที่รักษาผลประโยชน์ของไทยและดำเนินการตามกรอบการเจรจาที่รัฐบาลได้วางไว้อย่างเคร่งครัด
3. ต่อข้ออ้างของนายชวนนท์ฯ ว่าเป็นมติของ ครม. ชุดที่แล้วที่จะต้องให้ไทยสมัครเป็นเจ้าภาพแข่งขันกับกัมพูชานั้น
ขอเรียนว่า เมื่อปี 2554 คณะผู้แทนไทยในสมัยรัฐบาลของพรรคประชาธิปัตย์ได้ปฏิบัติตามมตินั้นไปแล้วแต่ไม่บังเกิดผล โดยที่ประชุมมีมติให้รัสเซียได้รับการคัดเลือกให้เป็นประธานสำหรับปี 2555
ยิ่งไปกว่านั้น พฤติกรรมของคณะผู้แทนในที่ประชุมฯ ได้ทำให้คณะกรรมการมรดกโลกและยูเนสโกตำหนิไทยและมองไทยในทางลบอีกด้วย จึงเป็นเรื่องแปลกที่นายชวนนท์ฯ เอามติ ครม. ของรัฐบาลชุดที่แล้วซึ่งเมื่อนำไปปฏิบัติแล้วกลับไม่บังเกิดผลสำเร็จมาอ้างเพื่อให้คณะผู้แทนไทยในรัฐบาลปัจจุบันปฏิบัติตาม
สำหรับการประชุมครั้งนี้ ผมได้รับการแต่งตั้งจากนายกรัฐมนตรีให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทย โดย ครม. เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ศกนี้ ได้กำหนดกรอบท่าทีของไทยใหม่ และไม่มีการเสนอตัวให้ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 37 ทำให้ผมไม่มีอำนาจเสนอให้ไทยเป็นเจ้าภาพแข่งขันกับกัมพูชาได้ กอร์ปกับในการประชุมคณะทำงานเตรียมการท่าทีของไทยที่กรุงเทพฯ นั้น คณะทำงานฯ ได้มีความเห็นว่า ไทยไม่ควรเสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสมัยที่ 37 ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
สำหรับการประชุมครั้งนี้ ผมได้รับการแต่งตั้งจากนายกรัฐมนตรีให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทย โดย ครม. เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ศกนี้ ได้กำหนดกรอบท่าทีของไทยใหม่ และไม่มีการเสนอตัวให้ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 37 ทำให้ผมไม่มีอำนาจเสนอให้ไทยเป็นเจ้าภาพแข่งขันกับกัมพูชาได้ กอร์ปกับในการประชุมคณะทำงานเตรียมการท่าทีของไทยที่กรุงเทพฯ นั้น คณะทำงานฯ ได้มีความเห็นว่า ไทยไม่ควรเสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสมัยที่ 37 ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
(ก) ไทยอยู่ในภาวะกำลังฟื้นตัวจากปัญหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในปี 2554 จึงอาจจะไม่เป็นการเหมาะสมที่จะจัดกิจกรรมที่จะต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก เช่นเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมฯ
(ข) ขณะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและกัมพูชาเป็นไปในทิศทางที่ดี ดังนั้น เพื่อคงความสัมพันธ์และมิตรภาพที่ดีต่อกัน ไทยจึงไม่ควรเสนอตัวเป็นเจ้าภาพในการประชุมดังกล่าว
(ค) รัฐภาคีเจ้าภาพจะต้องเป็นประธานในการประชุม ทำให้ต้องวางตัวเป็นกลาง ไม่แสดงท่าทีเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ซึ่งหากกัมพูชามีการดำเนินการใด ๆ จะขัดต่อมาตรการคุ้มครองชั่วคราวของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ตามข้อ B4 ที่ระบุว่า "ให้ทั้งสองฝ่ายงดดเว้นการกระทำใด ๆ ที่ทำให้ข้อพิพาทในศาลฯ ทวีความรุนแรงหรือแก้ไขได้ยากขึ้น"
ดังนั้น การที่นายชวนนท์ฯ อยากให้ไทยเสนอเป็นเจ้าภาพนั้น ในทางปฏิบัติทำไม่ได้เพราะผมไม่ได้รับ mandate จากรัฐบาล และการเป็นเจ้าภาพไม่เป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น
ดังนั้น การที่นายชวนนท์ฯ อยากให้ไทยเสนอเป็นเจ้าภาพนั้น ในทางปฏิบัติทำไม่ได้เพราะผมไม่ได้รับ mandate จากรัฐบาล และการเป็นเจ้าภาพไม่เป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น
นอกจากนี้ หากไทยเสนอเป็นเจ้าภาพแล้ว คณะกรรมการมรดกโลกและรัฐภาคึคงจะมองไทยเป็นตัวตลก เพราะคณะผู้แทนไทยในรัฐบาลของพรรคประชาธิปัตย์เมื่อปีที่ผ่านมาได้ walkout จากที่ประชุมและประกาศจะถอนตัวออกจากคณะกรรมการมรดกโลก แต่ปีนี้ยังจะมีหน้ามาขอเป็นประธานในการประชุมครั้งต่อไป แล้าเราจะมองหน้าชาวโลกได้อย่างไร ไม่นึกถึงเกียรติยศและศักดิ์ศรีของประเทศไทยบ้างหรือ
4. ต่อการกล่าวหาที่ว่าซูเอี๋ยกับกัมพูชาให้กัมพูชาเป็นประธานและไทยเป็นรองประธานนั้น ขอขี้แจ้งว่า กัมพูชาได้เป็นประธานเพราะไม่มีประเทศใดเสนอตัวแข่งกับกัมพูชา ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว อย่างไรก็ดี เมื่อมีแนวโน้มว่ากัมพูชาจะเป็นประธานครั้งต่อไปเพราะไม่มีประเทศใดเสนอแข่ง ผมก็ได้ประชุมหารือกับผู้แทนไทยจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่ไปร่วมประชุมด้วยและมีความเห็นพ้องกันว่าไทยควรจะรับเป็นรองประธานฯ หากมีการเสนอชื่อประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อกู้สถานการณ์ กู้ศักดิ์ศรีของประเทศไทยและเพื่อควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายกัมพูชาเพื่อรักษาผลประโยชน์ของประเทศไทยด้วย
4. ต่อการกล่าวหาที่ว่าซูเอี๋ยกับกัมพูชาให้กัมพูชาเป็นประธานและไทยเป็นรองประธานนั้น ขอขี้แจ้งว่า กัมพูชาได้เป็นประธานเพราะไม่มีประเทศใดเสนอตัวแข่งกับกัมพูชา ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว อย่างไรก็ดี เมื่อมีแนวโน้มว่ากัมพูชาจะเป็นประธานครั้งต่อไปเพราะไม่มีประเทศใดเสนอแข่ง ผมก็ได้ประชุมหารือกับผู้แทนไทยจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่ไปร่วมประชุมด้วยและมีความเห็นพ้องกันว่าไทยควรจะรับเป็นรองประธานฯ หากมีการเสนอชื่อประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อกู้สถานการณ์ กู้ศักดิ์ศรีของประเทศไทยและเพื่อควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายกัมพูชาเพื่อรักษาผลประโยชน์ของประเทศไทยด้วย
ทั้งนี้ ครม. ได้ให้อำนาจผมในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทยใช้ดุลพินิจในเรื่องที่ไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ โดยยึดถือผลประโยชน์ของประเทศเป็นหลัก ในทางตรงข้าม หากเราปล่อยให้กัมพูชาเป็นประธานโดยไม่มีผู้แทนไทยเข้าไปร่วมในคณะผู้บริหารหรือ Bureau ของคณะกรรมการมรดกโลก ก็จะเป็นการปล่อยให้กัมพูชาทำอะไรได้ตามอำเภอใจโดยไม่มีใครคานอำนาจ การที่ไทยยอมรับเป็นรองประธานฯ ได้ทำให้สมาชิกคณะกรรมการมรดกโลกต่างชมเชยไทยที่มีใจกว้างซึ่งนำมาซึ่งบรรยกาศที่ดีในที่ประชุมและเกื้อกูลต่อความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอีกด้วย ต่างจากการประชุมในปีที่ผ่านมาซึ่งที่ประชุมมองว่าไทยตั้งป้อมเป็นศัตรูกับทุกประเทศ และทำในสิ่งที่ขัดต่อจริยธรรมของการประชุมสากล
5. อนึ่ง การที่ไทยเป็นรองประธานที่ประชุมมรดกโลกนั้น จะมีอำนาจหน้าที่และผลประโยชน์แก่ประเทศไทย ดังนี้
5. อนึ่ง การที่ไทยเป็นรองประธานที่ประชุมมรดกโลกนั้น จะมีอำนาจหน้าที่และผลประโยชน์แก่ประเทศไทย ดังนี้
(ก) การเป็นรองประธานจะได้อยู่ในคณะกรรมการบริหารมรดกโลกหรือ Bureau session ซึ่งประกอบด้วย ประธาน รองประธาน 5 คนจาก 5ภูมิภาค ผู้เสนอรายงานการประชุม ซึ่งคณะกรรมการบริหารฯ จะเป็นผู้ร่วมกำหนดวาระการประชุม หัวข้อการประชุม ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 37โดยจะมีการพิจารณาวาระที่จะนำเสนอในการประชุมดังกล่าวก่อนการประชุมทุกวัน ดังนั้น ประเทศไทย ในฐานะรองประธาน จะทราบความเคลื่อนไหว และสามารถแสดงความเห็นหรือคัดค้านวาระการประชุมตามที่คณะกรรมการบริหารฯ จะนำเสนอในแต่ละวันได้
(ข) เป็นการแสดงบทบาท ความสามารถ และศักยภาพของไทยในระดับนานาชาติ
(ค) เป็นการแสดงถึงความร่วมมือกับนานาประเทศ ในการดำเนินการตามพันธกรณีอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกในเวทีโลก
(ง) ในการประชุมคณะกรรมมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 37 คาดว่าจะมีวาระที่เกี่ยวข้องกับไทย ซึ่งจะทำให้ไทยในฐานะรองประธานมียทบาทในการผลักดันเรื่องดังต่อไปนี้ คือ
- การขึ้นบัญฯชีเบื้องต้นของศูนย์มรดกโลกเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
- การเสนอขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกทางธรรมชาติ พื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน
- และสถานภาพการอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ พื้นที่กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
6. ต่อข้อเสนอของนายชวนนท์ฯ ที่ให้นายกยิ่งลักษณ์ฯ ไปถามสมเด็จฮุนเซนว่าไทยขอเป็นประธานร่วมกับกัมพูชาได้หรือไม่ ผมขอตอบว่า การเมืองระหว่างประเทศหรือการประชุมระดับสากลมิไช่งานสำหรับมือสมัครเล่นที่ไม่ยึดถือกติกาสากล การเป็นเจ้าภาพการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 37 ในปีหน้าเป็นเรื่องที่คณะกรรมการมรดกโลกจะตัดสินในที่ประชุม ไม่ไช่เรื่องระหว่างผู้นำของสองประเทศที่จะมาตกลงกันเองหลังมติที่ประชุมฯ
อีกประการหนึ่ง การประชุมมรดกโลกมิไช่การจัดการแข่งขันฟุตบอล world cup ที่สามารถจัดร่วมกันได้ แต่การจัดการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกร่วมกันนั้น ไม่เคยเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาก่อน การที่ออกมาพูดอย่างง่าย ๆ ว่า นายกไทยสามารถเดินทางไปขอนายกกัมพูชาให้จัดประชุมร่วมกันนั้น จะทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและเข้าใจผิดเกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติของสากลก็ได้ ผู้ที่เสนอให้จัดประชุมคณะกรรมการมรดกโลกร่วมกันคงชินต่อการปฏิบัตินอกกติกาในประเทศของตนเอง
7. ต่อข้ออ้างของนายชวนนท์ ฯ ว่า หากกัมพูชาเป็นประธานฯ กัมพูชาจะสามารถขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารและยื่นแผนบริหารจัดการพื้นที่ฯ ได้ง่าย นั้น ผมรู้สึกผิดหวังที่นายชวนนท์ฯ ใช้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อน กัมพูชาได้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารอย่างสมบูรณ์ไปแล้วเมื่อสมัยรัฐบาลก่อน สำหรับแผนบริหารจัดการนั้น หากเป็นพื้นที่ทับซ้อนซึ่งต่างฝ่ายต่างอ้างสิทธิและมีการเจรจากันอยู่ คณะกรรมการมรดกโลกจะไม่พิจารณาจนกว่าคู่กรณีจะตกลงกันได้ก่อน
8. ต่อการกล่าวหาว่าการที่ไทยเป็นรองประธาน ฯ เป็นการกระทบต่ออธิปไตยของไทยและมีผลต่อกรณีปราสาทพระวิหารนั้น เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ไม่ว่าจะมองในแง่มุมใดก็ตาม
7. ต่อข้ออ้างของนายชวนนท์ ฯ ว่า หากกัมพูชาเป็นประธานฯ กัมพูชาจะสามารถขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารและยื่นแผนบริหารจัดการพื้นที่ฯ ได้ง่าย นั้น ผมรู้สึกผิดหวังที่นายชวนนท์ฯ ใช้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อน กัมพูชาได้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารอย่างสมบูรณ์ไปแล้วเมื่อสมัยรัฐบาลก่อน สำหรับแผนบริหารจัดการนั้น หากเป็นพื้นที่ทับซ้อนซึ่งต่างฝ่ายต่างอ้างสิทธิและมีการเจรจากันอยู่ คณะกรรมการมรดกโลกจะไม่พิจารณาจนกว่าคู่กรณีจะตกลงกันได้ก่อน
8. ต่อการกล่าวหาว่าการที่ไทยเป็นรองประธาน ฯ เป็นการกระทบต่ออธิปไตยของไทยและมีผลต่อกรณีปราสาทพระวิหารนั้น เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ไม่ว่าจะมองในแง่มุมใดก็ตาม
โดยปกติแล้ว คณะกรรมการมรดกโลกจะไม่พิจารณาเรื่องที่เป็นปัญหาชายแดนระหว่างสองประเทศ นอกจากนี้ ประเทศที่เป็นคู่กรณีจะไม่ดำเนินการใด ๆ ที่จะทำให้สถานการณ์ตามแนวชายแดนเลวร้ายลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ศาลโลกยังไม่มีข้อวินิจฉัยว่าพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารเป็นของใคร
ซึ่งเรื่องนี้อยู่ในความดูแลของกระทรวงอื่น ไม่ไช่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกนั้น จะมีผู้แทนจากกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กรมศิลปากร และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมข้าร่วมด้วย และมีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับท่าทีของไทยในที่ประชุมฯ โดยยึดมติของ ครม. เป็นหลัก การที่จะเอาเรื่องมรดกโลกมาโยงกับเรื่องอธิปไตยของไทยหรือการเสียดินแดนหรือการถอนทหารออกจากพื้นที่ปลอดทหารตามแนวชายแดนนั้นจึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ เพราะมันเป็นคนละเรื่องกัน
เขียนโดย นายพิทยา พุกกะมาน
เขียนโดย นายพิทยา พุกกะมาน
สัจจังเว อมตาวาจา หมีหน้าฮ๊ากมึงจำได้ไหมว่าพูดไว้ว่างัย
ในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2552 อภิสิทธิ์ได้ตอบกระทู้อภิปรายไม่ไว้วางใจเกี่ยวกับการรับราชการทหารว่า มีความเข้าใจผิดว่าตนสมัครเข้ารับราชการทหาร หลังจากไม่เข้ารับการตรวจเลือกการเกณฑ์ทหาร
แต่ในความเป็นจริง ได้สมัครเข้ารับราชการทหารตั้งแต่ก่อนถึงกำหนดเกณฑ์ทหารแล้ว การสมัครเข้ารับราชการทหารในขณะนั้นจึงไม่ต้องใช้ สด.๔๓ แต่ใช้ สด.๙ และหนังสือผ่อนผันฯ แทน
"ทุกคนที่เป็นนายกฯ ที่มียศ เขาจะใช้ยศ และจะพูดถึงยศด้วยความภูมิใจ แต่มีท่านคนเดียว สิ่งที่บอกเบื้องลึกของท่าน เพราะการใช้ สด.9 ออกเป็นเท็จ เพื่อหลีกเลี่ยงการแสดง สด.43 เป็นการหลีกเลี่ยงแผลในใจ ท่านจึงไม่ใช้ยศว่าที่ร.ต." นายจตุพร กล่าว
นายอภิสิทธิได้ลุกขึ้นชี้แจงว่า เรื่องการการหนีทหารว่า เป็นประเด็นที่เป็นข้อกล่าวหาหนักหนาสาหัสมากนั้น ตนก็จะขอพูดเรื่องรับราชการทหาร พร้อมจะชี้แจงเรื่องกม. และคุณธรรมจริยธรรมด้วย
"ท่านประธานที่เคารพ ผมทราบดีว่าชายไทยทุกคนมีหน้ที่รับราชการทหาร สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ ผมไปศึกษาต่อต่างประเทศตั้งแต่อายุ 11 และศึกษาต่อจนเรียนจบป.ตรี ประมาณอายุ 22-23 นั่นแหละ ในการรับราชการทหารต้องทำความเข้าใจนะ การรับราชการทหารมันมีช่องทางหลักก็คือ ผ่านการเกณฑ์ทหาร ตามพรบ.รับราชการทหารปี 2497 ซึ่งอันนั้นเป็นช่องทางหนึ่ง ขณะเดียวกันกม.ก็เขียนชัดเจนว่า ถ้าไม่ได้เป็นไปตามกม.ฉบับนั้นก็สามารถไปรับราชการทหาร ตามระเบียบรัชราชการทหารปี 2521 ได้
ผมจบจากอ๊อกฟอร์ดในปี 2529 ผมก็เข้าใจว่า เมื่อผมเป็นนักเรียนในการดูแลของ ก.พ. ก็จะมีการผ่อนผันให้ แต่เมื่อผมกลับมาก็ไปขึ้นทะเบียนในเดือน ก.ค.2529 ซึ่งผมเองก็ได้ดำเนินการตรงนั้น ส่วนที่ล่าช้าไปก็คงเกิดขึ้นกับหลายคน มีการเสียค่าปรับก็ว่ากันไป
แต่ในความเป็นจริง ได้สมัครเข้ารับราชการทหารตั้งแต่ก่อนถึงกำหนดเกณฑ์ทหารแล้ว การสมัครเข้ารับราชการทหารในขณะนั้นจึงไม่ต้องใช้ สด.๔๓ แต่ใช้ สด.๙ และหนังสือผ่อนผันฯ แทน
ซึ่ง อภิสิทธิ์ยืนยันว่าขณะที่สมัครเข้า รร.จปร. ตนมีเอกสาร สด.๙ ที่ได้รับประมาณกลางปี พ.ศ. 2529 หลังสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและกลับมาถึงประเทศไทย และมีรายชื่อได้รับการผ่อนผันฯ เพื่อเรียนต่อปริญญาโท ช่วงปี พ.ศ. 2530 ถึง พ.ศ. 2532 ตามบัญชีของ ก.พ. ที่จัดทำตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2529 การสมัครเข้า รร.จปร. ของตนจึงเป็นการสมัครโดยมีคุณสมบัติครบถ้วน
หลังจากสมัครเข้า รร.จปร. ได้ผ่านการฝึกทหารคล้ายการฝึกนักศึกษาวิชาทหาร จนครบตามหลักสูตรจึงได้รับพระราชทานยศร้อยตรี ในการขอติดยศร้อยตรีนั้นตนได้ทำเอกสาร สด.๙ หาย จึงได้ไปขอออกใบแทน แต่ในการสมัครเข้า รร.จปร. ได้ใช้ สด.๙ ตัวจริงสมัคร แล้วเอกสารมีการสูญหายในภายหลัง ในการอภิปรายครั้งนี้ อภิสิทธิ์ได้แสดง สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ได้รับการยกเว้นผ่อนผันฯ และ สำเนา สด.๙ ฉบับแรกของตน ต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรด้วย
"ทุกคนที่เป็นนายกฯ ที่มียศ เขาจะใช้ยศ และจะพูดถึงยศด้วยความภูมิใจ แต่มีท่านคนเดียว สิ่งที่บอกเบื้องลึกของท่าน เพราะการใช้ สด.9 ออกเป็นเท็จ เพื่อหลีกเลี่ยงการแสดง สด.43 เป็นการหลีกเลี่ยงแผลในใจ ท่านจึงไม่ใช้ยศว่าที่ร.ต." นายจตุพร กล่าว
นายอภิสิทธิได้ลุกขึ้นชี้แจงว่า เรื่องการการหนีทหารว่า เป็นประเด็นที่เป็นข้อกล่าวหาหนักหนาสาหัสมากนั้น ตนก็จะขอพูดเรื่องรับราชการทหาร พร้อมจะชี้แจงเรื่องกม. และคุณธรรมจริยธรรมด้วย
"ท่านประธานที่เคารพ ผมทราบดีว่าชายไทยทุกคนมีหน้ที่รับราชการทหาร สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ ผมไปศึกษาต่อต่างประเทศตั้งแต่อายุ 11 และศึกษาต่อจนเรียนจบป.ตรี ประมาณอายุ 22-23 นั่นแหละ ในการรับราชการทหารต้องทำความเข้าใจนะ การรับราชการทหารมันมีช่องทางหลักก็คือ ผ่านการเกณฑ์ทหาร ตามพรบ.รับราชการทหารปี 2497 ซึ่งอันนั้นเป็นช่องทางหนึ่ง ขณะเดียวกันกม.ก็เขียนชัดเจนว่า ถ้าไม่ได้เป็นไปตามกม.ฉบับนั้นก็สามารถไปรับราชการทหาร ตามระเบียบรัชราชการทหารปี 2521 ได้
ผมจบจากอ๊อกฟอร์ดในปี 2529 ผมก็เข้าใจว่า เมื่อผมเป็นนักเรียนในการดูแลของ ก.พ. ก็จะมีการผ่อนผันให้ แต่เมื่อผมกลับมาก็ไปขึ้นทะเบียนในเดือน ก.ค.2529 ซึ่งผมเองก็ได้ดำเนินการตรงนั้น ส่วนที่ล่าช้าไปก็คงเกิดขึ้นกับหลายคน มีการเสียค่าปรับก็ว่ากันไป
ประเด็นก็คือว่าเมื่อผมกลับมา ผมก็คิดว่าน่าจะได้ทำหน้าที่ช่วยเหลือบ้านเมือง พร้อมกับรับราชการทหาร ขณะเดียวกันยุคนั้นก็มีความต้องการให้คนที่จบมาไปเป็นอาจารย์ของโรงเรียนนายร้อยกันมาก และผมก็คิดว่าเอาความรู้ที่ได้มาทั้งเป็นประโยชน์ต่อราชการ และพร้อมกันนั้นผมก็มีความคิดที่จะไปเรียนต่อด้วย มันก็จำเป็นต้องทำสองทางพร้อมกันไป ไม่ได้ละเลยต่อหน้าที่เลย
ท่านสมาชิกเคยพูดในหลายที่ว่า เมื่อรับสด.9 มาแล้ว ผมไม่ยอมไปเกณฑ์ทหาร และจะหาทางลบล้างความผิดยังไง ที่จริงท่านทราบดีว่าไม่ได้เป็นอย่างนั้น เพราะเอกสารที่ท่านนำมามันบอกเองว่าผมสมัครก่อนครบหนดเกณฑ์ คือเกิดก่อน 30 เม.ย.30 ทั้งสิ้น แล้วท่านก็มาบอกว่าเอาเอกสารเท็จ เพราะเขารับผมเข้าทำงานในกลางปี 30 แต่เอกสารของท่านมันออกปี 31 ผมจะเอาเอกสารเท็จไปยื่นก่อนได้อย่างไร
ที่จริงผมไม่เคยมีข้อสงสัยเรื่องรับราชการทหารของผมเลย ผมก็แปลกใจเพราะว่าฝ่ายท่านเป็นรัฐบาลมานาน ถ้ามีอะไรไม่ถูกคงมีการดำเนินคดีไปแล้ว ผมเห็นว่าคนที่ท่านพาดพิงมาว่าเขารับโทษต่าง ๆ นานานั้น เพราะทำเอกสารให้ผมนั้น ผมก็ยืนยันว่าบุคคลทั้งสองไม่เคยได้รับโทษแต่อย่างใด และเอกสารที่ท่านอ่าน ก็ไม่ชัดเจนว่าเป็นเอกสารในขั้นตอนไหน อย่างไร เพราะยังไม่มีการยืนยันว่าเป็นอย่างไร แต่กรณีจะเป็นอย่างไรก็ตาม ท่านก็ได้ยอมรับว่า ผมได้สมัครรับราชการทหาร และได้รับบรรจุตั้งแตปี 2530
ขณะเดียวกันท่านก็บอกว่า 1.ถ้าอายุไม่ถึง 21 ก็เอาสด.9 ไปสมัคร และ 2.ถ้าเกินกว่า 21 ปี ต้องมีทั้งสด.9 และ สด.43 หรือมีหนังสือผ่อนผัน เมื่อมีการสงสัยเรื่องนี้ ในที่สุดผมก็ไปค้นพบเอกสาร แล้วก็มีชื่อผมอยู่ในฐานะผู้ได้รับการผ่อนผันปี 30-32 เพราะผมมีความตั้งใจจะไปศึกษาต่อ นี่จึงเป็นเหตุผลว่า จปร. ให้ผมได้รับการบรรจุอย่างถูกต้อง
ช่วงแรกผมเข้าไปเป็นขรก.พลเรือนกลาโหม พรบ.รับราชการทหารปี 2521 ก็อธิบายครอบคลุมว่า ขรก.ทหารหมายถึงขรก.กลาโหมพลเรือนด้วย เพราะฉะนั้นผมก็เริ่มรับราชการทมหารตั้งแต่กลางปี 2530 ด้วย
หมีหน้าฮ๊ากโชว์ภาพเรียน รอ ดอ
ท่านก็อาจไม่ทราบว่าในช่วงที่ผมสอนอยู่โรงเรียนนายร้อย ในช่วงแรกยังไม่มียศ เพราะยังไม่ได้รับการฝึก วิธีการของเขาก็คือเขาจัดให้มีการฝึก ซึ่งเขาจะมีเป็นรอบๆเหมือนกับการฝึกอบรมของส่วนราชการอื่นๆ เขาจะจัดเป็นรุ่น ผมก็ฝึกเหมือนกับเพื่อนฝึกรด.แหละ แต่ความต่างก็คือท่านฝึกรด.ก็ไปสัปดาห์ละครึ่งวัน แต่ของผมฝึกต่อเนื่อง มีการไปเขาชนไก่เหมือนกัน (โชว์รูปที่ฝึกทหารมาโชว์ 3 รูป) ไม่ได้มีอะไรลึกลับซับซ้อน แล้วก็เข้าไปรับราชการทหาร ท่านถามว่าผมมีลูกศิษย์มั้ย ผมได้พาคณะไปเยี่ยม 3 จว.ใต้ มีนายทหารวิ่งเข้ามาหาผม บอกว่าเป็นลูกศิษย์ผม
ผมก็สอนหนังสือตามปกติ ทีนี้พอถึงช่วงปี 2531 พอฝึกเสร็จเรียบร้อย ก็ต้องเข้าสู่การขอพระราชทานยศ ก็มีการมาขอเอกสารหลักฐานที่ใช้ รวมถึง สด.9 ก็ปรากฏว่ามันหาย เลยไปขอใบแทนออกมา ซึ่งก็ไม่ได้มีผลใด ๆ ทั้งสิ้นต่อการรับราชการ และการรับพระราชทานยศ
ท่านสมาชิกเคยพูดในหลายที่ว่า เมื่อรับสด.9 มาแล้ว ผมไม่ยอมไปเกณฑ์ทหาร และจะหาทางลบล้างความผิดยังไง ที่จริงท่านทราบดีว่าไม่ได้เป็นอย่างนั้น เพราะเอกสารที่ท่านนำมามันบอกเองว่าผมสมัครก่อนครบหนดเกณฑ์ คือเกิดก่อน 30 เม.ย.30 ทั้งสิ้น แล้วท่านก็มาบอกว่าเอาเอกสารเท็จ เพราะเขารับผมเข้าทำงานในกลางปี 30 แต่เอกสารของท่านมันออกปี 31 ผมจะเอาเอกสารเท็จไปยื่นก่อนได้อย่างไร
ที่จริงผมไม่เคยมีข้อสงสัยเรื่องรับราชการทหารของผมเลย ผมก็แปลกใจเพราะว่าฝ่ายท่านเป็นรัฐบาลมานาน ถ้ามีอะไรไม่ถูกคงมีการดำเนินคดีไปแล้ว ผมเห็นว่าคนที่ท่านพาดพิงมาว่าเขารับโทษต่าง ๆ นานานั้น เพราะทำเอกสารให้ผมนั้น ผมก็ยืนยันว่าบุคคลทั้งสองไม่เคยได้รับโทษแต่อย่างใด และเอกสารที่ท่านอ่าน ก็ไม่ชัดเจนว่าเป็นเอกสารในขั้นตอนไหน อย่างไร เพราะยังไม่มีการยืนยันว่าเป็นอย่างไร แต่กรณีจะเป็นอย่างไรก็ตาม ท่านก็ได้ยอมรับว่า ผมได้สมัครรับราชการทหาร และได้รับบรรจุตั้งแตปี 2530
ขณะเดียวกันท่านก็บอกว่า 1.ถ้าอายุไม่ถึง 21 ก็เอาสด.9 ไปสมัคร และ 2.ถ้าเกินกว่า 21 ปี ต้องมีทั้งสด.9 และ สด.43 หรือมีหนังสือผ่อนผัน เมื่อมีการสงสัยเรื่องนี้ ในที่สุดผมก็ไปค้นพบเอกสาร แล้วก็มีชื่อผมอยู่ในฐานะผู้ได้รับการผ่อนผันปี 30-32 เพราะผมมีความตั้งใจจะไปศึกษาต่อ นี่จึงเป็นเหตุผลว่า จปร. ให้ผมได้รับการบรรจุอย่างถูกต้อง
ช่วงแรกผมเข้าไปเป็นขรก.พลเรือนกลาโหม พรบ.รับราชการทหารปี 2521 ก็อธิบายครอบคลุมว่า ขรก.ทหารหมายถึงขรก.กลาโหมพลเรือนด้วย เพราะฉะนั้นผมก็เริ่มรับราชการทมหารตั้งแต่กลางปี 2530 ด้วย
ท่านก็อาจไม่ทราบว่าในช่วงที่ผมสอนอยู่โรงเรียนนายร้อย ในช่วงแรกยังไม่มียศ เพราะยังไม่ได้รับการฝึก วิธีการของเขาก็คือเขาจัดให้มีการฝึก ซึ่งเขาจะมีเป็นรอบๆเหมือนกับการฝึกอบรมของส่วนราชการอื่นๆ เขาจะจัดเป็นรุ่น ผมก็ฝึกเหมือนกับเพื่อนฝึกรด.แหละ แต่ความต่างก็คือท่านฝึกรด.ก็ไปสัปดาห์ละครึ่งวัน แต่ของผมฝึกต่อเนื่อง มีการไปเขาชนไก่เหมือนกัน (โชว์รูปที่ฝึกทหารมาโชว์ 3 รูป) ไม่ได้มีอะไรลึกลับซับซ้อน แล้วก็เข้าไปรับราชการทหาร ท่านถามว่าผมมีลูกศิษย์มั้ย ผมได้พาคณะไปเยี่ยม 3 จว.ใต้ มีนายทหารวิ่งเข้ามาหาผม บอกว่าเป็นลูกศิษย์ผม
ผมก็สอนหนังสือตามปกติ ทีนี้พอถึงช่วงปี 2531 พอฝึกเสร็จเรียบร้อย ก็ต้องเข้าสู่การขอพระราชทานยศ ก็มีการมาขอเอกสารหลักฐานที่ใช้ รวมถึง สด.9 ก็ปรากฏว่ามันหาย เลยไปขอใบแทนออกมา ซึ่งก็ไม่ได้มีผลใด ๆ ทั้งสิ้นต่อการรับราชการ และการรับพระราชทานยศ
ถัดมาในปี 2531 เป็นช่วงที่มหาวิทยาลัยประสานมา ผมก็ตัดสินใจว่าต้องไปเรียนต่อ และก็จะไปสอนหนังสือด้วย ผมก็ได้ทำเรื่องลาและได้รับการอนุมัติถูกต้องทุกประการ ถ้าถามว่าผมทำหน้าที่รับราชการหรือยัง ก็ต้องบอกว่าการรับราชการทหารในระเบียบปี 21 ทีให้ทำเป็นเวลาหนึ่งปีเป็นอย่างน้อยนั้น ผมก็ทำเกินหนึ่งปีแน่นอน ไม่ได้มีอะไรเป็นการสร้างมาตรฐานใหม่ของประเทศไทย ทุกเรื่องไม่มีสองมาตรฐานและผมก็ได้รับการตรวจสอบและยินดีที่จะชี้แจงตามที่ท่านมีข้อสงสัย
ที่ท่านมาบอกว่าผมต้องเดินบนความหวาดกลัวกองทัพ เป็นเรื่องไร้สาระ ผมไม่ทราบว่าท่านกลัวใครบ้างแต่ผมไม่กลัว ไม่ว่าเรื่องภาคใต้ หรือการปฏิบัติหน้าที่ของกองทัพก็ตาม ท่านไม่เคยได้ยินหรอกนะครับว่า ถ้ามีบุคคลของกองทัพทำไอะไรผิดต้องได้รับโทษ แต่ผมพูด และได้รับการขานรับอย่างดีจากท่านผบ.ทบ. ไม่ว่าจะเป็นกรณีโรฮิงญา หรือการปฏิบัติหน้าที่ของทหารใน 3 จว.ใต้ ผมทำบนมาตรฐานที่ชัดเจน หลายเรื่องท่านต้องทราบ แต่ท่านก็มองข้าม ไม่ไปดูหลักฐานที่เกี่ยวข้อง เรื่องนี้ทางกระทรวงก็เคยมาชี้แจงต่อ กมธ.ทหาร ก็ยืนยันว่าการบรรจุผมมีระเบียบที่แน่ชัด
จากนั้นนายจตุพร ได้ลุกขึ้นตอบโต้นายอภิสิทธิ์ โดยพยายามซักถามต่อว่า ใช้หลักฐานอะไรในการสมัครเป็นอาจารย์ ร.ร.นายร้อยจปร. เพราะหลักฐานที่ต้องนำมานั้น มันต้องใช้สด.9 สด.8 และหลักฐานการผ่อนผันอื่น เพราะท่านนายกฯมาสารภาพกลางสภาเองว่าได้รับการบรรจุ 7 ส.ค.30 ท่านไม่ได้ให้สด.9 ไปแสดง ท่านไปเป็นทหารได้อย่างไร เพราะมีเอกสารต้องแสดง 16 รายการ ท่านจะมาขอสด.9 ใบแทน ซึ่งออกเอกสารใบแทนปี 31 ได้อย่างไร นายจตุพรยังตั้งคำถามาต่อไปว่า ในปี 2530 นายอภิสิทธิ์ ไม่เข้ารับการตรวจเลือก และถ้าได้รับการผ่อนพันจริง ทำไมถึงปรากกชื่อในบัญชีคนขาดใน 32-33-34 ตนไม่ได้กล่าวหานายอภิสิทธิ์โดยปราศจากหลักฐาน เพราะผลการสอบของกองทัพ รวมถึงผลการตรวจสอบ ท่านไม่มีสิทธิ์ได้รับการบรรจุในวันที่ 7 ส.ค.30 เพราะท่านยอมรับว่าสด.9 หาย แต่ไปขอวันที่ 8 เม.ย.ปี 31
นายอภิสิทธิ์ลุกขึ้นใช้สิทธิ์ชี้แจงกลับไปว่า ตนไม่เคยพูดว่าสมัครเข้าไป เพราะตนไม่มีสด.9 ท่านพูดเอง เอกสารที่เรียกร้องเพิ่มเติมคือหลักฐานการผ่อนผัน ตนเข้าใจว่าเป็นกระบวนการภายในเมื่อเขาตรวจผมแล้วเขาถึงบรรจุ ส่วนเรื่องบัญชีผ่อนผันมันเป็นคนละเรื่อง ส่วนการแทงบัญชีขาดนั้น ก็อาจเป็นไปได้ว่าในการแก้เอกสารอาจไม่ได้แก้
นายจตุพร ยังได้ลุกขึ้นตอบโต้อีกครั้งว่า ขอถามย้ำอีกครั้งว่าเมื่อวันที่ 7 ส.ค.ที่ท่านสมัครเป็นอาจารย์รร.นายร้อยจปร. ท่านได้แสดง สด.9 หรือไม่ ถ้าท่านไม่แสดง เขารับท่านได้อย่างไร เพราะท่านหนีทหาร 7 เม.ย.30 แสดงว่าโรงเรียนนายร้อยจปร.ทำสด.9 ท่านหายใช่หรือไม่ แล้วการออกสด.9 ใบแทน แล้วลงวันผิด ทำไมท่านไม่ทักท้วง
นายอภิสิทธิ์ชี้แจงอีกว่า วันที่ตนสมัคร เอกสารสด.9 มี และตรวจสอบได้ เพราะมีต้นขั้วอยู่ ส่วนการผ่อนผันก็มีตามหลักฐานที่เอามาให้ดู เวลาที่ออกใบแทน เขาก็เขียนใบแทนใบที่หาย และลงวันที่วันนั้น เขาจะไปออกลงวันที่ย้อนหลังให้ได้อย่างไร
อย่างไรก็ตาม นายจตุพรไม่ลดละ ยังได้ลุกขึ้นตั้งคำถามกลับไปอีกว่าที่ ท่านนายกฯอธิบายความก็คือใบแทน 8 เม.ย.31 ที่ท่านไปขอใบแทนถูกต้อง แต่ในการกรอกรายละเอียดเข้าบัญชีทหารกองเกินวันที่ มันต้องเป็น 4 ก.ค.29 แต่นี่ใส่วันที่ 8 เม.ย.31 จึงกลายเป็นเอกสารเท็จไป เพราะท่านไปขึ้นทะเบียนคือ 4 ก.ค.29 ที่ผมถามก็คือวันที่ 7 ส.ค.นั้นท่านได้แสดงใบนั้นหรือไม่ เพราะหนังสือ 8 เม.ย.31 นั้นถูกต้อง แต่วันที่ขึ้นทะเบียนไม่ถูก เพราะฉะนั้นการเป็นอาจารย์รร.นายร้อยของท่านจึงเป็นโมฆะแต่ต้น
นายอภิสิทธิ์ลุกขึ้นชี้แจงอีกครั้ง โดยบอกว่าการออกใบแทนอันนี้ ไม่ได้มีผลหรือความหมายกับการรับราชการทหารเลย เพราะมันเกิดขึ้นหลังจากรับตนเข้ารับราชการมาแล้วครึ่งปี ส่วนเอกสาร 4 ก.ค.29 นั้นก็มีเรียบร้อยแล้ว และเขาใช้ใบนั้นในการรับตนเข้าไปแล้ว
สจฺ จํ เว อมตา วาจา คำสัตย์แลเป็นวาจาไม่ตาย
มาดูแมลงสาบดิ้นพลาด ๆ กัน
ศิริโชคแก้ต่างแทนมาร์ค หอบเอกสารตอกกลับโอ๋
สร้างกระแสช่วย'คางคก' ถูกบีบแถลง-ไร้หลักฐาน
ที่ท่านมาบอกว่าผมต้องเดินบนความหวาดกลัวกองทัพ เป็นเรื่องไร้สาระ ผมไม่ทราบว่าท่านกลัวใครบ้างแต่ผมไม่กลัว ไม่ว่าเรื่องภาคใต้ หรือการปฏิบัติหน้าที่ของกองทัพก็ตาม ท่านไม่เคยได้ยินหรอกนะครับว่า ถ้ามีบุคคลของกองทัพทำไอะไรผิดต้องได้รับโทษ แต่ผมพูด และได้รับการขานรับอย่างดีจากท่านผบ.ทบ. ไม่ว่าจะเป็นกรณีโรฮิงญา หรือการปฏิบัติหน้าที่ของทหารใน 3 จว.ใต้ ผมทำบนมาตรฐานที่ชัดเจน หลายเรื่องท่านต้องทราบ แต่ท่านก็มองข้าม ไม่ไปดูหลักฐานที่เกี่ยวข้อง เรื่องนี้ทางกระทรวงก็เคยมาชี้แจงต่อ กมธ.ทหาร ก็ยืนยันว่าการบรรจุผมมีระเบียบที่แน่ชัด
จากนั้นนายจตุพร ได้ลุกขึ้นตอบโต้นายอภิสิทธิ์ โดยพยายามซักถามต่อว่า ใช้หลักฐานอะไรในการสมัครเป็นอาจารย์ ร.ร.นายร้อยจปร. เพราะหลักฐานที่ต้องนำมานั้น มันต้องใช้สด.9 สด.8 และหลักฐานการผ่อนผันอื่น เพราะท่านนายกฯมาสารภาพกลางสภาเองว่าได้รับการบรรจุ 7 ส.ค.30 ท่านไม่ได้ให้สด.9 ไปแสดง ท่านไปเป็นทหารได้อย่างไร เพราะมีเอกสารต้องแสดง 16 รายการ ท่านจะมาขอสด.9 ใบแทน ซึ่งออกเอกสารใบแทนปี 31 ได้อย่างไร นายจตุพรยังตั้งคำถามาต่อไปว่า ในปี 2530 นายอภิสิทธิ์ ไม่เข้ารับการตรวจเลือก และถ้าได้รับการผ่อนพันจริง ทำไมถึงปรากกชื่อในบัญชีคนขาดใน 32-33-34 ตนไม่ได้กล่าวหานายอภิสิทธิ์โดยปราศจากหลักฐาน เพราะผลการสอบของกองทัพ รวมถึงผลการตรวจสอบ ท่านไม่มีสิทธิ์ได้รับการบรรจุในวันที่ 7 ส.ค.30 เพราะท่านยอมรับว่าสด.9 หาย แต่ไปขอวันที่ 8 เม.ย.ปี 31
นายอภิสิทธิ์ลุกขึ้นใช้สิทธิ์ชี้แจงกลับไปว่า ตนไม่เคยพูดว่าสมัครเข้าไป เพราะตนไม่มีสด.9 ท่านพูดเอง เอกสารที่เรียกร้องเพิ่มเติมคือหลักฐานการผ่อนผัน ตนเข้าใจว่าเป็นกระบวนการภายในเมื่อเขาตรวจผมแล้วเขาถึงบรรจุ ส่วนเรื่องบัญชีผ่อนผันมันเป็นคนละเรื่อง ส่วนการแทงบัญชีขาดนั้น ก็อาจเป็นไปได้ว่าในการแก้เอกสารอาจไม่ได้แก้
นายจตุพร ยังได้ลุกขึ้นตอบโต้อีกครั้งว่า ขอถามย้ำอีกครั้งว่าเมื่อวันที่ 7 ส.ค.ที่ท่านสมัครเป็นอาจารย์รร.นายร้อยจปร. ท่านได้แสดง สด.9 หรือไม่ ถ้าท่านไม่แสดง เขารับท่านได้อย่างไร เพราะท่านหนีทหาร 7 เม.ย.30 แสดงว่าโรงเรียนนายร้อยจปร.ทำสด.9 ท่านหายใช่หรือไม่ แล้วการออกสด.9 ใบแทน แล้วลงวันผิด ทำไมท่านไม่ทักท้วง
นายอภิสิทธิ์ชี้แจงอีกว่า วันที่ตนสมัคร เอกสารสด.9 มี และตรวจสอบได้ เพราะมีต้นขั้วอยู่ ส่วนการผ่อนผันก็มีตามหลักฐานที่เอามาให้ดู เวลาที่ออกใบแทน เขาก็เขียนใบแทนใบที่หาย และลงวันที่วันนั้น เขาจะไปออกลงวันที่ย้อนหลังให้ได้อย่างไร
หลักฐาน สด.9 (ปลอม ที่หมีหน้าฮ๊ากอ้างว่าหาย)
อย่างไรก็ตาม นายจตุพรไม่ลดละ ยังได้ลุกขึ้นตั้งคำถามกลับไปอีกว่าที่ ท่านนายกฯอธิบายความก็คือใบแทน 8 เม.ย.31 ที่ท่านไปขอใบแทนถูกต้อง แต่ในการกรอกรายละเอียดเข้าบัญชีทหารกองเกินวันที่ มันต้องเป็น 4 ก.ค.29 แต่นี่ใส่วันที่ 8 เม.ย.31 จึงกลายเป็นเอกสารเท็จไป เพราะท่านไปขึ้นทะเบียนคือ 4 ก.ค.29 ที่ผมถามก็คือวันที่ 7 ส.ค.นั้นท่านได้แสดงใบนั้นหรือไม่ เพราะหนังสือ 8 เม.ย.31 นั้นถูกต้อง แต่วันที่ขึ้นทะเบียนไม่ถูก เพราะฉะนั้นการเป็นอาจารย์รร.นายร้อยของท่านจึงเป็นโมฆะแต่ต้น
นายอภิสิทธิ์ลุกขึ้นชี้แจงอีกครั้ง โดยบอกว่าการออกใบแทนอันนี้ ไม่ได้มีผลหรือความหมายกับการรับราชการทหารเลย เพราะมันเกิดขึ้นหลังจากรับตนเข้ารับราชการมาแล้วครึ่งปี ส่วนเอกสาร 4 ก.ค.29 นั้นก็มีเรียบร้อยแล้ว และเขาใช้ใบนั้นในการรับตนเข้าไปแล้ว
แล้วมาดูวันนี้ครับ ความจริงปรากฏ
จตุุพร พรหมพันธุ์ อัดเต็ม ๆ ในรายการชูธง ไปดูความจริง ที่นี่ความจริง
ผมจำคำ พณฯ สมัีคร สุนทรเวช ได้ กับการตั้งชื่อรายการ ความจริงวันนี้
แล้ว คุณ วีระ เอามาเป็นชื่อรายการ โดย คุณ วีระ ขึ้น Title รายการด้วยเพลงที่มีข้อความว่า
สัจจังเว อมตา วาจา
มาดู ชูธง (ความจริงวันนี้) โดยจตุพร พรหมพันธ์
สจฺ จํ เว อมตา วาจา คำสัตย์แลเป็นวาจาไม่ตาย
มาดูแมลงสาบดิ้นพลาด ๆ กัน
ศิริโชคแก้ต่างแทนมาร์ค หอบเอกสารตอกกลับโอ๋
สร้างกระแสช่วย'คางคก' ถูกบีบแถลง-ไร้หลักฐาน
"อภิสิทธิ์"ส่ง"ศิริโชค"แถลงตอบโต้ โชว์เอกสารหลักฐานครบสมัครเข้าเป็นอาจารย์จปร. ยืนยันไม่ได้หนีทหาร พร้อมต่อสู้พิสูจน์ความจริง จ่อฟ้อง " สุกำพล" สร้างกระแสโดยไร้หลักฐาน ร่วมกระบวนการทางการเมือง เย้ยถูกบีบให้ออกมาแถลงช่วย "จตุพร"คดีหมิ่นกล่าวหาหนีทหาร
วันที่ 19 ก.ค.2555 ที่พรรคประชาธิปัตย์(ปชป.) นายศิริโชค โสภา ส.ส.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ คนสนิทของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แถลงถึงกรณีที่พล.อ.อ.สุกำพล สุวรรณทัต รมว.กลาโหม พาดพิงถึงนายอภิสิทธิ์ กรณีหลีกเลี่ยงการเกณฑ์ทหารว่า แสดงว่ามีกระบวนการทางการเมือง เนื่องจากมีการปล่อยข่าวออกมาอย่างต่อเนื่อง มา 2-3 วันแล้ว รวมถึงทนายความของนายจตุพร พรหมพันธุ์ แกนนำคนเสื้อแดง ที่พยายามสร้างกระแสว่าวันนี้จะมีข่าวเด็ด แต่ก็เป็นเรื่องที่น่าเศร้าใจ เพราะสุดท้ายแล้วพล.อ.อ.สุกำพลก็ไม่มีอะไรออกมาแถลง เพียงแค่ยืนยันหลักฐานเดิมตามปี 2542 ที่เคยมีการตรวจสอบมาก่อนหน้าแล้ว และท่าทีของพล.อ.อ.สุกำพล ก็เหมือนไม่ค่อยอยากจะแถลงข่าว และได้โยนให้กับผู้ตรวจการแผ่นดิน โดยอ้างว่าเอกสารทั้งหมด ได้ส่งไปที่ผู้ตรวจการแผ่นดินแล้ว ซึ่งทีมกฎหมายของพรรคประชาธิปัตย์กำลังดูอยู่ว่าจะดำเนินคดีกับพล.อ.อ.สุกำพลได้หรือไม่ โดยหากพบว่าเข้าข่ายนายอภิสิทธิ์ ก็จะฟ้องร้องด้วยตัวเอง
“ผมสังเกตว่า ธรรมดาแล้วพล.อ.อ.สุกำพล ต้องนั่งแถลงข่าวอย่างเป็นทางการ แต่วันนี้กลับไม่ยอมนั่งแถลงข่าว แต่ยืนแถลง แสดงให้เห็นว่าเหมือนมีคนมาบังคับให้แถลง ทั้งหมดทำไปเพื่อช่วยนายจตุพรอย่างเป็นกระบวนการในคดีที่ถูกนายอภิสิทธิ์ฟ้องหมิ่นประมาท เพราะมีการแถลงข่าวในช่วงที่กำลังมีการสืบพยาน และถ้าดูจากการสืบพยานฝ่ายนายจตุพร ก็ดูจะเพลี่ยงพล้ำ เนื่องจากจเรทหาร ได้ออกมายอมรับว่า ถ้านายอภิสิทธิ์ได้ยื่นสด.9 คือใบขึ้นทะเบียนทหารและหลักฐานการผ่อนผัน ว่าไปเรียนต่างประเทศ ก็ถือว่าได้เข้ารับราชการอย่างถูกต้อง ตรงนี้เป็นเหตุให้พล.อ.อ สุกำพล ต้องออกมาแถลงว่ามีการหนีทหาร” นายศิริโชค กล่าวพร้อม แสดงเอกสารหลักฐานใบสด. 9 และทะเบียนบัญชีรายชื่อนักเรียนการที่ออกไปศึกษาต่อต่างประเทศ โดยมีรายชื่อนายอภิสิทธิ์ อยู่ในลำดับที่ 3 และหนังสือสด.41 ซึ่งเป็นเอกสารที่นายอภิสิทธิ์ เคยนำมาชี้แจงในสภาผู้แทนราษฎร
นายศิริโชค กล่าวอีกว่า ทั้งหมดเกิดมาจากเหตุการณ์ที่มีการตั้งกรรมการสอบเมื่อปี 2542 หลักฐาน 2 อย่างที่ต้องยื่นให้กับทางฝ่ายทหาร เพื่อที่จะสมัครเข้ารับราชการ และหนังสือสด.9 สด.41 มีเลขที่ถูกต้อง ซึ่งหมายความว่าเมื่อเอาหนังสือดังกล่าวเข้าไปสมัครเป็นทหาร ก็สามารถที่จะสมัครเข้าเป็นอาจารย์ในโรงเรียนนายร้อยจปร.ได้ ซึ่งหลักฐานต่าง ๆ มีครบถ้วนอยู่แล้ว เพียงแต่วันนี้พล.อ.อ.สุกำพลพยายามสร้างกระแส โดยไม่มีหลักฐานเพิ่มเติม ขอยืนยันว่านายอภิสิทธิ์ พร้อมที่จะพิสูจน์ในเรื่องนี้ มิเช่นนั้นคงไม่ฟ้องหมิ่นประมาทนายจตุพร
เมื่อถามว่า มีการระบุว่า สด. 9 เป็นเอกสารปลอม นายศิริโชค กล่าวว่า เรื่องสด.9 เป็นเอกสารที่ผู้ชายไทยทุกคนเมื่ออายุครบ 17 ปี ก็ต้องได้รับอยู่แล้ว ส่วนจะหายหรือไม่หายไม่ได้เป็นผล เพียงแต่มีความพยายามสร้างกระแส เพราะตอนที่นายอภิสิทธิ์ ไปสมัครเป็นอาจารย์ก็ยื่นใบดังกล่าว แต่ตอนที่จะขอติดยศ ทางจปร.บอกหาใบสด.9 ไม่เจอ นายอภิสิทธิ์ จึงไปขอสด.9 ฉบับใหม่ที่เขตพระโขนงแทน ซึ่งก็ไม่ได้มีนัยยะอะไรที่สำคัญ
Thaiinsider New
ดูเอกสารของจริง แล้วจะรู้ว่า แมลงสาบโดนไบก๊อนเขียวแล้วเป็นยังงัย
เอกสารคำสั่งลงโทษ สัสดี พต.ทองคำ เดชเร ดำเนินคดีอาญา กรณีนายอภิสิทธิ์
**************************************************
หมีหน้าฮ๊าก หนีตะหาน
ทนายจตุพร เดินหน้าคดี 'อภิสิทธิ์ หนีทหาร'
นายวิญญัติ ชาติมนตรี ทนายความของนายจตุพร พรหมพันธุ์ แกนนำ นปช. เปิดเผยความคืบหน้าของคดีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง นายจตุพร พรหมพันธุ์ แกนนำ นปช. ในข้อหาหมิ่นประมาท ที่นายจตุพร กล่าวหาว่า นายอภิสิทธิ์จงใจหลบหนีการเกณฑ์ทหาร และใช้หลักฐานเท็จ สมัครเป็นอาจารย์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า หรือ จปร.
โดยนายวิญญัติ กล่าวว่า การเบิกความของพยานเมื่อวานนี้ คือ พันเอกสมโชค ไกรศิริ จเรทหารบก ถือว่าเป็นประโยชน์ต่อนายจตุพร เนื่องจากเป็นเจ้าหน้าที่ของภาครัฐ และให้การในชั้นศาล สรุปได้ว่า
เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2530 นายอภิสิทธิ์ ไม่เข้ารับตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ากองประจำการปี 2530 มีความผิด ตาม พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.2497 มาตรา 27 และ มาตรา 45 โดยนายอภิสิทธิ์ไม่มีหลักฐานการผ่อนผัน จึงไม่มีหลักฐานทางทหาร เพื่อประกอบเอกสารการบรรจุโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) แต่ภายหลัง กรมสารบัญ โรงเรียนนายร้อย จปร. ได้ทำหลักฐานขออนุมัติบรรจุนายอภิสิทธิ์ เพื่อให้นายอภิสิทธิ์ได้เข้ารับราชการทหาร
นายวิญญัติ ยังเปิดเผยเพิ่มเติมว่า ศาลได้นัดคดีครั้งต่อไปในวันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคมนี้ ขณะที่ภายใน 2 -3 วันนี้ ทีมทนายความจะได้หลักฐานชิ้นสำคัญเพิ่มเติมจากกระทรวงกลาโหม ซึ่งอาจถึงการเรียกคืนชั้นยศร้อยตรี และสิทธิต่างๆ ทางทหารคืนจากนายอภิสิทธิ์
ยืนยันว่า มันคือแมลงสาบจริง ๆ
"กรณ์" เปรียบ "ประชาธิปัตย์" เป็นแมลงสาป!
"กรณ์" มั่นใจกระแสแรง เปรียบประชาธิปัตย์เป็น \"แมลงสาบ\" ฆ่าไม่ตาย"
Sat, 2011-06-25 17:43
"กรณ์" มั่นใจกระแสแรง เปรียบประชาธิปัตย์เป็น \"แมลงสาบ\" ฆ่าไม่ตาย"
Sat, 2011-06-25 17:43
กรณ์ จาติกวณิช เผยเตรียมขยายผลการปราศรัย 23 มิ.ย.
ที่แยกราชประสงค์โดยจะทำเป็นคลิปปล่อยลงยูทิวป์ ยันกระแสแรงชัดเจนไปที่ไหนคนรู้หมดว่าประชาธิปัตย์พูดเรื่องอะไร ยันถึงวันที่พรรคไม่มีอภิสิทธิ์ก็ยังมีคนมาสานต่อ \ฆ่าไม่ตาย เขาเรียกว่าแมลงสาบ\" เว็บไซต์ไทยอินไซเดอร์ รายงานว่า เมื่อวานนี้ (24 มิ.ย.) ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรณ์ จาติกวณิช รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลการเลือกตั้งกทม.พรรคประชาธิปัตย์ ให้สัมภาษณ์กรณีเรียกผู้สมัคร ส.ส.กรุงเทพฯ ของพรรคหารือเมื่อวันที่ 20 มิ.ย.ที่ผ่านมาหลังโพล กทม.ของพรรคตามหลังพรรคเพื่อไทยอย่างมากว่า ได้พูดถึงยุทธศาสตร์ของพรรคในช่วง 2 สัปดาห์สุดท้ายว่ามีอะไรบ้าง และประเด็นที่ประชาชนตั้งคำถามคืออะไร เพื่อให้ผู้สมัครชี้แจงกับประชาชนในแนวเดียวกัน โดยมีการพูดถึงคะแนนในเขตต่างๆ ว่าเป็นอย่างไรบ้าง และได้เล่าให้ผู้สมัครฟังถึงคะแนนเสียงในแต่ละภูมิภาคว่าเป็นอย่างไร ส่วนที่มีการนำโพลของพรรคที่ระบุว่าพรรคประชาธิปัตย์จะได้ส.ส.กรุงเทพฯแค่ เขตเดียว มาขู่ผู้สมัครนั้นก็ไม่มีอะไร ทุกคนดูแล้วก็หัวเราะ เราให้ดูว่ามันเหลวแหลกแค่ไหน ยืนยันว่าทีม กทม.และผู้สมัคร ส.ส.กรุงเทพฯ ทุกคนทำงานหนักลงพื้นที่อย่างเข้มข้นโดยเฉพาะช่วงเวลาที่เหลือนี้ โดยไม่สนใจโพลต่างๆ แต่จะเน้นโพลวันที่ 3 ก.ค.เท่านั้น
ที่แยกราชประสงค์โดยจะทำเป็นคลิปปล่อยลงยูทิวป์ ยันกระแสแรงชัดเจนไปที่ไหนคนรู้หมดว่าประชาธิปัตย์พูดเรื่องอะไร ยันถึงวันที่พรรคไม่มีอภิสิทธิ์ก็ยังมีคนมาสานต่อ \ฆ่าไม่ตาย เขาเรียกว่าแมลงสาบ\" เว็บไซต์ไทยอินไซเดอร์ รายงานว่า เมื่อวานนี้ (24 มิ.ย.) ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรณ์ จาติกวณิช รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลการเลือกตั้งกทม.พรรคประชาธิปัตย์ ให้สัมภาษณ์กรณีเรียกผู้สมัคร ส.ส.กรุงเทพฯ ของพรรคหารือเมื่อวันที่ 20 มิ.ย.ที่ผ่านมาหลังโพล กทม.ของพรรคตามหลังพรรคเพื่อไทยอย่างมากว่า ได้พูดถึงยุทธศาสตร์ของพรรคในช่วง 2 สัปดาห์สุดท้ายว่ามีอะไรบ้าง และประเด็นที่ประชาชนตั้งคำถามคืออะไร เพื่อให้ผู้สมัครชี้แจงกับประชาชนในแนวเดียวกัน โดยมีการพูดถึงคะแนนในเขตต่างๆ ว่าเป็นอย่างไรบ้าง และได้เล่าให้ผู้สมัครฟังถึงคะแนนเสียงในแต่ละภูมิภาคว่าเป็นอย่างไร ส่วนที่มีการนำโพลของพรรคที่ระบุว่าพรรคประชาธิปัตย์จะได้ส.ส.กรุงเทพฯแค่ เขตเดียว มาขู่ผู้สมัครนั้นก็ไม่มีอะไร ทุกคนดูแล้วก็หัวเราะ เราให้ดูว่ามันเหลวแหลกแค่ไหน ยืนยันว่าทีม กทม.และผู้สมัคร ส.ส.กรุงเทพฯ ทุกคนทำงานหนักลงพื้นที่อย่างเข้มข้นโดยเฉพาะช่วงเวลาที่เหลือนี้ โดยไม่สนใจโพลต่างๆ แต่จะเน้นโพลวันที่ 3 ก.ค.เท่านั้น
นายกรณ์ กล่าวถึงการปราศรัยที่ราชประสงค์ของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ว่า จะมีการนำมาขยายผลคำปราศรัยและชุดความคิดของนายอภิสิทธิ์ ซึ่งทีม กทม.ได้ดำเนินการแล้วเมื่อเช้าวันเดียวกันนี้โดยผู้สมัครแต่ละเขตได้ แยกย้ายกันลงไปขยายผลทางความคิด โดยมีการย่อการปราศรัยให้สั้นลง เพื่อโพสลงในยูทูปให้คนใช้อินเตอร์เน็ตได้รับชม
โดยเมื่อคืนวันที่ 23 มิ.ย.ที่ผ่านมา มีคนชมสดผ่านไลฟ์สตรีมถึง 3 หมื่นคนไม่รวมทีวีดาวเทียม สำหรับกระแสก็ชัดเจน ตนไปที่ไหนประชาชนรู้หมดว่าที่ราชประสงค์ปราศรัยเรื่องอะไร แม้ในกลุ่มแรงงาน ดังนั้นเวลาที่เหลืออีกไม่กี่วันก็ต้องเดินหน้าขยายผลเพื่อนำสู่เวทีปราศรัยใหญ่ ในวันที่ 1 ก.ค.นี้ที่ลานพระบรมรูปทรงม้า คาดว่าจะมีผู้ฟังหลายแสนคน และพรรคจะใช้เวทีนี้เป็นศูนย์กลางถ่ายทอดไปยังเวทีย่อยในภูมิภาคต่างๆ โดยนายอภิสิทธิ์จะลุกขึ้นปราศรัยอีกครั้ง
ส่วนที่ต้องชนกับเวทีปราศรัยใหญ่ของพรรคเพื่อไทยที่ราชมังคลากีฬาสถาน ตนคิดว่าเป็นพรรคเพื่อไทยที่ต้องชนกับพรรคประชาธิปัตย์มากกว่า ส่วนกรณีที่นายอภิสิทธิ์ ประกาศกลางเวทีราชประสงค์หากแพ้การเลือกตั้งจะส่งไม้ต่อให้คนอื่นในพรรคมาทำ งานแทนนั้น นายกรณ์กล่าวว่า \"นายอภิสิทธิ์ พูดว่า ถ้าแพ้จะมีคนขึ้นมาทำต่อ พูดถึงอุดมการณ์ของพรรคประชาธิปัตย์ว่าพรรคเราไม่มีวันตายในการต่อสู้ตามระบอบประชาธิปไตย สิ่งที่นายอภิสิทธิ์สื่อสารที่ราชประสงค์ คือการเป็นนายกฯตามกฎหมายของตัวเองเป็นได้อีก 4 ปี อย่างไรก็ตามเมื่อถึงเวลานั้นนายอภิสิทธิ์คงไม่ไปไหน อยู่ช่วยงานพรรคเหมือนเดิม เหมือนกับอดีตหัวหน้าพรรค 2 คนของพรรค คือนายชวน หลีกภัย และนายบัญญัติ บรรทัดฐาน ที่ยังช่วยอยู่ทุกวันนี้ สำหรับพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อถึงวันที่ไม่มีนายอภิสิทธิ์ ก็ยังมีคนอื่นมาสานต่อ ฆ่าไม่ตาย เขาเรียกว่าแมลงสาบ” นายกรณ์กล่าว"
พรรคประชาธิปัตย์ แถไปข้างหน้า
นายกรณ์ จาติกวณิช รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แสดงสีหน้าเคร่งเครียด
ระหว่างการถูกสัมภาษณ์เกี่ยวกับปัญหาภายในของพรรคประชาธิปัตย์
(19 กรกฎาคม 2555 go6TV) - ผู้สื่อข่าวรายงานว่า รายการสยามวาระ ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ระหว่างเวลา 20.25 – 21.15 น. ที่ผ่านมาได้เผยแพร่เนื้อหา ตอน "พรรคประชาธิปัตย์ : แลไปข้างหน้า" ซึ่งตีแผ่และสำรวจปัญหาของพรรคประชาธิปัตย์ ทั้งจากมุมมองของคนในพรรคและคนนอกพรรค โดยมี นายภิญโญ ไตรสุริยธรรมา เป็นผู้ดำเนินรายการ
โดยทางรายการสยามวาระแสดงให้ผู้ชมเห็นว่า กว่า 3 ทศวรรษนับตั้งแต่เหตุการณ์โศกนาฏกรรมทางการเมืองเมื่อเดือนตุลาคม 2519 ดูเหมือนจะยังไม่มีสิ่งใดท้าทายสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ในยุคใหม่ เท่ากับการปรากฏตัวของ “พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร” ผู้ก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ซึ่งในเวลาต่อมากลายเป็นคู่แข่งทางการเมืองคนสำคัญของประชาธิปัตย์ และกลายเป็นทั้งโอกาสและอุปสรรค ในการปรับตัวสู่อนาคตของพรรคการเมืองเก่าแก่ที่สุดในประเทศแห่งนี้
สำหรับ บุคคลที่ร่วมในรายการสยามวาระ - พรรคประชาธิปัตย์ : แลไปข้างหน้า ประกอบด้วย
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคคนปัจจุบัน
บัญญัติ บรรทัดฐาน อดีตหัวหน้าพรรคคนที่ 6
พิชัย รัตตกุล อดีตหัวหน้าพรรคคนที่ 4
วีระกานต์ มุสิกพงศ์ อดีตเลขาธิการพรรค
จาตุรนต์ ฉายแสง อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกพรรคไทยรักไทย
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำนปช. สมาชิกพรรคเพื่อไทย และรมช.เกษตรและสหกรณ์
ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล นักสื่อสารมวลชนอิสระ
ดร.ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์ นักวิชาการอิสระ
อาจารย์สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ นักประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
อานิก อัมระนันทน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์
ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ นักวิชาการสายเยอรมัน
ทั้งนี้ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ปฏิกริยาผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตในกระดานสนทนาเสรีไทย ซึ่งเป็นเว็บบอร์ดของผู้ที่นิยมพรรคประชาธิปัตย์ที่ใหญ่และมีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย ต่างก็วิพากษ์วิจารณ์โจมตีการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ของคณะกรรมการบริหารพรรคชุดปัจจุบันเป็นจำนวนมาก โดยความคิดเห็นส่วนใหญ่ระบุว่า การทำงานของพรรคประชาธิปัตย์ในปัจจุบันอ่อนด้วยประสิทธิภาพ ไม่สามารถบริหารงานเพื่อแข่งขันกับพรรคการเมืองขั้วตรงข้ามได้ รวมทั้งปัญหาภายในพรรคเองกรณีการคัดเลือกตัวผู้สมัครชิงตำแหน่งผู้ว่าการกรุงเทพมหานคร ทั้ง มัลลิกา บุญมีตระกูล, หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร , กรณ์ จาติกวณิช และ อภิรักษ์ โกษะโยธิน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)