Thailand’s current democratic crisis sits in stark contrast with its greatest achievement this century: universal health coverage. This achievement is also a prime example of the ideological disagreements on the value of populism in Thai politics.
In 2001, the government introduced ‘30 baht healthcare’, a comprehensive government funded scheme that provided extended health coverage to all citizens. Compared to other countries with similar levels of development, establishing universal healthcare coverage in Thailand was a serious accomplishment.
In 2001, 30 percent of the total population was uninsured. But in 2014, 99 percent of the total population was covered by three public insurance schemes. Universal health coverage has ensured increased access to healthcare for the poor and a significant decrease in infant and child mortality. Advanced medical treatments such as basic chemotherapy, open-heart surgery and dialysis treatment are also widely available.
How might such an ambitious social project become feasible in a socially divided, politically unstable, lower middle income country like Thailand?
Universal health coverage began with the rise of the populist politician, Thaksin Shinawatra. In 2000, the Thai Rak Thai Party and Thaksin proposed 30 baht (US$0.92) universal health coverage as a major point for their rural platform. After winning the 2001 elections by a landslide margin, they speedily implemented this reform.
The short history of universal health coverage coincides with one of the most unsettling periods of contemporary Thai politics. From 2001–15, there were nine governments, six general elections (including the annulled one) and two coups. This extraordinary political chaos has torn Thai society between pro-Thaksin and anti-Thaksin (or royalist and anti-royalist) groups, putting Thai democracy in crisis again. The general response toward universal health coverage also has been polarised. It received praise as an ideal policy for the poor and dismissed as a populist charade.
After the military takeover in May 2014, the junta stated their mission was to prevent populist policies that could endanger the Thai economy and to mould ‘sustainable democracy’. They stopped former Prime Minister Yingluck’s village development policies, deeming them populist. The future of universal health coverage also seemed in doubt. In the beginning period of its authoritarian rule, the military junta hinted their plan to reform the system by increasing the patient co-payment. In August 2014 Prime Minister Prayut Chan-o-cha announced that universal health coverage would remain in place.
In Prayut’s regular TV show, he made a problematic suggestion. He proposed that the rich should give up their membership in the universal health coverage scheme to give a bigger health budget to the poor. This request is tricky, because it distorts the very meaning of universal access deeply attached to democratic values. The basic philosophy of ‘universal access’ is to entitle all citizens to healthcare regardless of their income level, social status or residency. It is true that the poor are the largest beneficiaries of this public policy, but — in principle — it is for everyone. The reason that this policy has been so appealing for the majority of Thais is that it does not segregate and target the poor but incorporates them into the realm of public good.
Is universal health coverage ‘populist’? Calling a person or a policy ‘populist’ suggests that they are more self-serving than communal, instinctive than rational, and more wasteful than sustainable. Is providing essential healthcare to all like this? No. Branding universal health coverage with the derogatory label ‘populist’ allows a group to benefit from anti-populism discourse.
Since the 2014 coup started, the military junta has been the major beneficiary of the anti-populism frame. Although the general direction and size of public spending of the military government is not very different from Yingluck’s era, their anti-populist stance serves as a political machine to suppress democratic politics. There is a very powerful idea among royalists that Thailand needs ruling by ‘good men’ and liberal democracy is incompetent. It is easy for ill-intended politicians to dupe ignorant electorates. This has paved a way to the establishment of an ‘anti-electoral democracy’.
As ideological battles around populism continue in Thai politics, universal health coverage offers a different political horizon. While this ‘populist’ plan sounds dangerous, unsustainable, or wasteful, it indeed has proved a fundamental value. All citizens have the right to access public healthcare and the state is obliged to ensure these rights.
The very idea of universal access has a constructive function in the formations of democratic values. As ordinary Thais have already experienced such social force and feasibility of making claims of their rights to health as a universal value, then why not their political rights? The anti-populist stance is hindering access to basic democratic procedures.
Thai public health care suffering by association is republished with permission from East Asia Forum
Fri, 2015-04-17 12:58
ภาคภูมิ แสงกนกกุล แปล
วิกฤตประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบันกลับสวนทางกับความสำเร็จของศตวรรษนี้ นั่นคือนโยบาย หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความสำเร็จนี้ยังเป็นบทเรียนสำคัญของความขัดแย้งทางอุดมการณ์ความคิดเรื่องการต่อต้านประชานิยมซึ่งเป็นค่านิยมของสังคมไทย
ในปี 2001 (พ.ศ. 2544) รัฐบาลได้ออกนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคที่ครอบคลุมประกันสุขภาพให้ประชาชนทุกคน เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกัน นโยบาย 30 บาทของไทยเป็นความสำเร็จอย่างยิ่งยวด
ในปี 2001 ร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมดไร้ประกันสุขภาพ แต่ในปี 2014 (พ.ศ. 2557) ร้อยละ 99 ของประชากรทั้งหมดถูกปกคลุมด้วยประกันสุขภาพชองรัฐบาล 3กลุ่มคือ ประกันสังคม ประกันสุขภาพราชการ และ นโยบาย 30 บาท ผลสำเร็จของนโยบาย 30 บาทส่งผลดีต่อคนจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าถึงการรักษาและการลดอัตราการตายของทารก การรักษาพยาบาลราคาแพงเช่นการรักษาด้วยเคมีบำบัด การผ่าตัดเปิดหัวใจและการฟอกไต ก็ยังรวมอยู่ในสิทธิประโยชน์ด้วยเช่นกัน
ทำไมนโยบายที่มีความทะเยอทะยานสูงเช่นกรณีนี้จึงสามารถสำเร็จได้ในประเทศรายได้ปานกลางอย่างไทย ซ้ำร้ายเป็นสังคมที่แตกแยก มีความไม่แน่นอนทางการเมือง?
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าริเริ่มต้นจากนักการเมืองประชานิยมอย่าง ทักษิณชินวัตร ในปี 2000 (พ.ศ. 2543) พรรคไทยรักไทยและทักษิณเสนอ นโยบาย 30 บาทเป็นจุดขายสำคัญเขตชนบท หลังจากที่ชนะการเลือกตั้งปี 2001 โดยถล่มทลายไทยรักไทยก็ดำเนินการปฏิรูปอย่างเร่งด่วน
โดยบังเอิญการพัฒนาของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ในช่วงเวลาไร้เสถียรภาพทางการเมืองที่สุดของการเมืองไทยร่วมสมัย ในช่วง 2001-15 (พ.ศ. 2544-2558) , มีรัฐบาลทั้งหมด 9 ชุด การเลือกตั้งทั่วไป 6 ครั้ง (รวมถึงครั้งล่าสุดที่โมฆะ) และรัฐประหารสองครั้ง ความวุ่นวายทางการเมืองนี้พิเศษได้แบ่งแยกสังคมไทยระหว่างกลุ่มทักษิณและกลุ่มต่อต้านทักษิณ (หรืออีกในแง่หนึ่งคือความขัดแย้งระหว่างกลุ่มนิยมกับกลุ่มต่อต้านเจ้า) นอกจากนี้ผลตอบรับต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านอกจากนี้ยังส่งผลต่อการแบ่งขั้วเช่นกัน โดยเป็นที่นิยมในคนยากจน แต่กลับถูกชนชั้นกลางตราว่าเป็นนโยบายประชานิยม
หลังจากการรัฐประหาร พฤษภาคม 2014, รัฐบาลทหารได้อ้างว่าเป้าหมายของพวกเขาคือการป้องกันไม่ให้นโยบายประชานิยมที่อาจเป็นอันตรายต่อเศรษฐกิจไทยและการบั่นทอน 'ประชาธิปไตยที่ยั่งยืน' พวกเขาหยุดนโยบายต่างๆของอดีตนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ เช่น นโยบายกองทุนหมู่บ้านโดยอ้างว่ามันเป็นนโยบายประชานิยม อนาคตของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าก็อยู่ในอาการหมิ่นเหม่เช่นกัน ในช่วงเริ่มต้นของรัฐบาลทหารได้พูดเป็นนัยถึงแผนการปฏิรูประบบโดยให้ผู้ป่วยรับผิดชอบร่วมจ่ายค่ารักษามากขึ้น อย่างไรก็ตามเมื่อสิงหาคม 2014 นายกรัฐมนตรีประยุทธ์ จันทร์โอชาประกาศว่าหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจะยังคงอยู่ในสถานที่
ในรายการคืนความสุขให้คนในชาติ ที่ถ่ายทอดประจำทางทีวีช่วงไพรม์ไทม์ ประยุทธ์กลับเสนอวิธีปฏิรูปที่เป็นปัญหา เขาเสนอว่านโยบาย 30 บาทไม่ควรคลอบคลุมพวกคนรวยเพื่อคนจนจะได้มีงบประมาณรักษามากขึ้น แต่ทว่าข้อเสนอดังกล่าวมันบิดเบือนความหมายของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ผูกติดกับค่านิยมประชาธิปไตย ปรัชญาพื้นฐานของการเข้าถึงสากลคือการให้สิทธิประชาชนทุกคนที่จะได้รับการรักษาโดยไม่คำนึงถึงระดับรายได้ของพวกเขาหรือสถานะทางสังคมที่อยู่อาศัย มันเป็นความจริงว่าคนจนเป็นกลุ่มที่ได้ผลประโยชน์ที่ใหญ่ที่สุดของนโยบายสาธารณะนี้ แต่โดยหลักการนโยบายนี้เพื่อประชากรทุกคน และเหตุผลที่นโยบายนี้ประสบความสำเร็จก็เพราะมันไม่ได้แบ่งแยกคนจนแต่รวมพวกเขาไว้ในนโยบายสาธารณะ
จริงหรือที่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็น 'ประชานิยม'? การเรียกนักการเมืองหรือนโยบาย 'ประชานิยม' มันหมายถึงว่า การให้บริการด้านการดูแลสุขภาพที่จำเป็นเช่นนี้ นักการเมืองเห็นแก่ตัวกว่าการรับใช้ชุมชน การบริหารนโยบายด้วยสัญชาตญาณมากกว่าเหตุผลและเป็นนโยบายที่สิ้นเปลืองมากกว่าที่จะยั่งยืน? ไม่ๆๆ เพราะการติดป้ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างเสื่อมเสียว่า 'ประชานิยม' ช่วยให้บางกลุ่มได้รับประโยชน์จากวาทกรรมต่อต้านประชานิยม
ตั้งแต่รัฐประหาร 2014 เริ่มต้นรัฐบาลทหารเป็นกลุ่มได้รับผลประโยชน์จากนโยบายต่อต้านประชานิยม แม้ว่าทิศทางนโยบายและการใช้จ่ายของรัฐบาลทหารก็ไม่ได้แตกต่างกันมากจากยุคยิ่งลักษณ์ มาตรการต่อต้านประชานิยมต่างๆเป็นเครื่องมือทางการเมืองเพื่อใช้กำจัดกลุ่มการเมืองต่างๆในระบอบประชาธิปไตย โดยแนวคิดเรื่องคนดีปกครองบ้านเมืองและเสรีประชาธิปไตยไม่เหมาะสมกับเมืองไทยนั้นแพร่หลายในกลุ่มชนชั้นนำ และเป็นเรื่องง่ายในการสร้างกระบวนการต่อต้านการเลือกตั้งทั่วไป
ในขณะที่การต่อสู้ทางอุดมการณ์ต่อต้านประชานิยมยังคงอยู่ในการเมืองไทย, หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเสนอมิติการเมืองที่เปลี่ยนไป ในขณะที่นโยบาย'ประชานิยม' นี้อาจไม่ยั่งยืนหรือสิ้นเปลือง แต่มันได้สร้างค่านิยมพื้นฐานขึ้นมาใหม่ว่า ประชาชนทุกคนมีสิทธิที่จะเข้าถึงการดูแลสุขภาพของและรัฐมีหน้าที่ประกันสิทธิเหล่านี้
แนวคิดของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีพื้นฐานที่นำไปสู่ค่านิยมประชาธิปไตย ในเมื่อคนไทยทั่วไปมีประสบการณ์แล้วในการเรียกร้องสิทธิของตนต่อสุขภาพในฐานะค่านิยมสากลแล้ว ทำไมจะไม่สามารถขยายไปสู่สิทธิทางการเมืองของพวกเขาได้? การต่อต้านประชานิยมจึงเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงวิธีการประชาธิปไตยขั้นพื้นฐาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น