CNN ฟ้องโลก! กองกำลังติดอาวุธการ์ด กปปส. ยิงอาวุธสงครามใส่ประชาชน คุกคามนักข่าว "อย่าถ่ายภาพ หากถ่ายจะทำลายกล้องทิ้ง"
"ติดอยู่กลางแนวปืน : คำให้การของโปรดิวเซอร์ CNN เรื่องความรุนแรงในช่วงการเลือกตั้งของไทย" ซึ่งมีเนื้อหาดังต่อไปนี้
ตอนนั้นเป็นช่วงสายของวันเสาร์และจนถึงช่วงเวลานั้นก็ยังค่อนข้างสงบ ความวิตกกังวลว่าจะเกิดการปะทะจนเลือดตกยางออกในช่วงกระบวนการเลือกตั้งของไทยยังไม่ได้ปรากฏเป็นจริงขึ้นมา ณ เวลานั้น พวกเราจึงตัดสินใจเดินทางไปที่ชานเมืองของกรุงเทพในเขตที่เรียกว่าหลักสี่ ซึ่งข้าพเจ้าได้ยินว่ากลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนการเลือกตั้งกำลังเดินขบวนไปยังสำนักงานเขตหลักสี่ซึ่งเก็บบัตรเลือกตั้งของเขตนั้นเอาไว้ และสำนักงานเขตดังกล่าวถูกปิดกั้นโดยกลุ่มผู้ชุมนุมต่อต้านการเลือกตั้ง
ไม่กี่ชั่วโมงต่อมา กลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนการเลือกตั้งก็มาถึงใกล้สำนักงานเขต แต่ก็เว้นระยะไว้หลายร้อยเมตรจากฝ่ายตรงข้าม ในตอนนั้นอยู่ดีๆข้าพเจ้าเสียงปะทัดขว้างไปมา แม้ข้าพเจ้าจะไม่สามารถจำแนกต้นเสียงได้ชัดเจนว่ามาจากทางใด
จากนั้น -- ก็มีเสียงปืนดังขึ้น
ข้าพเจ้าเห็นผู้ประท้วงฝ่ายสนับสนุนเลือกตั้งผงะและหมอบลงกับพื้น หลังจากนั้นเสียงก็เงียบลงไปพักหนึ่ง จากนั้นผู้ชุมนุมฝ่ายสนับสนุนเลือกตั้งก็รวมตัวกันใหม่ ข้าพเจ้าวิ่งเข้าไปดูว่าเกิดอะไรขึ้น
จากนั้น -- ก็มีเสียงปืนดังขึ้น
ข้าพเจ้าเห็นผู้ประท้วงฝ่ายสนับสนุนเลือกตั้งผงะและหมอบลงกับพื้น หลังจากนั้นเสียงก็เงียบลงไปพักหนึ่ง จากนั้นผู้ชุมนุมฝ่ายสนับสนุนเลือกตั้งก็รวมตัวกันใหม่ ข้าพเจ้าวิ่งเข้าไปดูว่าเกิดอะไรขึ้น
ปรากฏว่ามีผู้ชายคนหนึ่งนั่งอยู่ที่พื้น เขาถูกยิงที่หน้าอกแต่ยังพูดได้ การประท้วงที่ค่อนข้างจะสงบสันติได้เกิดความรุนแรงขึ้นเสียแล้วโดยไม่มีการเตือนล่วงหน้า ซึ่งความรุนแรงนั้นก็ปรากฏเพิ่มขึ้นอีกในเวลาต่อมา กลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนการเลือกตั้งเริ่มตะโกนด่าทอกลุ่มผู้ชุมนุมฝ่ายคัดค้านการเลือกตั้งที่เพิ่งมาถึงพร้อมกับรถบรรทุกเครื่องเสียงขนาดใหญ่ที่อีกฟากหนึ่งของสี่แยกหลักสี่ ผู้ชุมนุมฝ่ายสนับสนุนการเลือกตั้งคนหนึ่งบอกข้าพเจ้าว่ากระสุนมาจากอีกฟากหนึ่ง
ข้าพเจ้าคิดว่าควรจะถอนตัวและไปรวมกลุ่มกับเพื่อนร่วมงานของข้าพเจ้าที่เพิ่งข้ามถนนมา
ในตอนที่ข้าพเจ้ากำลังจะข้ามถนนนั้น ผู้ปราศัยบนรถบรรทุกบอกว่า “โปรดซ่อนตัวอยู่ทางซ้ายของรถบรรทุกและเดินช้าๆ” ข้าพเจ้าหลบไปอยู่ข้างหลังแท่งคอนกรีตรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสและคิดว่าน่าจะวางกล้องบนแท่งคอนกรีตเพื่อให้ได้ภาพแบบไม่สั่นไหวตอนที่รถบรรทุกเคลื่อนผ่านไป แต่ตอนนั้นเอง ชายสามคนสวมที่ปกปิดใบหน้าวิ่งมาทางข้าพเจ้า มาทางกล้องของข้าพเจ้า พวกเขาเห็นข้าพเจ้าแน่ๆ
กลุ่มบุคคลเหล่านี้เคลื่อนเข้าถึงตำแหน่งที่ข้าพเจ้าอยู่และมีแค่แท่งคอนกรีตเตี้ยๆกั้นระหว่างข้าพเจ้ากับกลุ่มบุคคลดังกล่าว ทันใดนั้นพวกเขาก็เปิดฉากยิงไปทางกลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนการเลือกต้ัง ชายคนหนึ่งถือถุงใบใหญ่สีเขียวมา ซึ่งดูเหมือนจะซ่อนปืนไรเฟิลไว้ข้างใน
ตอนนั้นข้าพเจ้านั่งตัวตรงอยู่ แต่ข้าพเจ้าทิ้งตัวลงกับพื้นทันที สิ่งเดียวที่คิดออกคือต้องให้กล้องของขาพเจ้าบันทึกภาพต่อไป เลนส์ของข้าพเจ้าจะจับภาพมือปืนได้หรือไม่หนอ?
ตอนที่ข้าพเจ้ารู้สึกว่าได้ภาพเรียบร้อยแล้ว ความคิดต่อไปคือ “เราควรจะออกจากที่นี่ดีหรือไม่? แต่ยังไงตอนนี้ก็ยังมีการยิงกันอยู่”
ข้าพเจ้าชะโงกศีรษะจากด้านหลังแท่งซีเมนต์และถามคนที่อยู่ข้างๆว่า “ได้โปรดเถอะ! ฉันออกไปได้หรือยัง” ใบหน้าของเขาดูเหี้ยมเกรียมมาก เขาพูดว่า “คุณนักข่าว อย่าถ่ายภาพนี้นะ ถ้าผมต้องทำลายกล้องของคุณก็อย่าโทษผมแล้วกัน”
ข้าพเจ้าจึงต้องเอากล้องลง นอกจากตัวข้าพเจ้าเองแล้ว มีช่างภาพอีกอย่างน้อย 6 คนซึ่งติดอยู่กับมือปืนเหล่านี้อีกอย่างน้อย 40 นาทีหรือมากกว่านั้น
หลังจากนั้นข้าพเจ้าลองอีกครั้งหนึ่ง “ตอนนี้เป็นเวลาที่ดีที่จะออกไปหรือยัง?”
เขาบอกว่าโอเค “ทำตัวให้ต่ำกว่าแนวกั้นและคลานไปนะ”
พวกเราจึงออกมา ข้าพเจ้าออกมาคนแรก เราคลานตามถนนชิดกับแนวกั้นที่เป็นซีเมนต์ไปตลอด
ในขณะที่คลานอยู่นั้น ข้าพเจ้าเห็นมือปืนอีก 2 คนถือปืนไรเฟิลอยู่โดยไม่ได้ปกปิดใบหน้า พวกเขาก็ยิงไปทางกลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนการเลือกตั้งเช่นเดียวกัน ท้ายที่สุดแล้วน่าจะใช้เวลาประมาณ 15 นาทีเพื่อข้ามไปรวมกลุ่มกับมิตรสหายของข้าพเจ้าที่อีกฝั่งถนนหนึ่งแต่ข้าพเจ้ารู้สึกว่าเวลาช่างยาวนานเหมือนชั่วนิรันดร
แม้เหตุการณ์นี้จะเป็นเหตุการณ์เล็กๆในช่วงเวลาการประท้วงหลายเดือน แต่ก็เป็นเครื่องเตือนใจและคำเตือนว่าสถานการณ์ในประเทศไทยยังห่างไกลจากการคลี่คลายมาก อารมณ์ความรู้สึกในหมู่ผู้คนยังคงรุนแรง และน่าเศร้าที่การหลั่งเลือดอยู่ใกล้เพียงแค่ชั่วอารมณ์คลั่งวูบหนึ่งเท่านั้น
ข้าพเจ้าคิดว่าควรจะถอนตัวและไปรวมกลุ่มกับเพื่อนร่วมงานของข้าพเจ้าที่เพิ่งข้ามถนนมา
ในตอนที่ข้าพเจ้ากำลังจะข้ามถนนนั้น ผู้ปราศัยบนรถบรรทุกบอกว่า “โปรดซ่อนตัวอยู่ทางซ้ายของรถบรรทุกและเดินช้าๆ” ข้าพเจ้าหลบไปอยู่ข้างหลังแท่งคอนกรีตรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสและคิดว่าน่าจะวางกล้องบนแท่งคอนกรีตเพื่อให้ได้ภาพแบบไม่สั่นไหวตอนที่รถบรรทุกเคลื่อนผ่านไป แต่ตอนนั้นเอง ชายสามคนสวมที่ปกปิดใบหน้าวิ่งมาทางข้าพเจ้า มาทางกล้องของข้าพเจ้า พวกเขาเห็นข้าพเจ้าแน่ๆ
กลุ่มบุคคลเหล่านี้เคลื่อนเข้าถึงตำแหน่งที่ข้าพเจ้าอยู่และมีแค่แท่งคอนกรีตเตี้ยๆกั้นระหว่างข้าพเจ้ากับกลุ่มบุคคลดังกล่าว ทันใดนั้นพวกเขาก็เปิดฉากยิงไปทางกลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนการเลือกต้ัง ชายคนหนึ่งถือถุงใบใหญ่สีเขียวมา ซึ่งดูเหมือนจะซ่อนปืนไรเฟิลไว้ข้างใน
ตอนนั้นข้าพเจ้านั่งตัวตรงอยู่ แต่ข้าพเจ้าทิ้งตัวลงกับพื้นทันที สิ่งเดียวที่คิดออกคือต้องให้กล้องของขาพเจ้าบันทึกภาพต่อไป เลนส์ของข้าพเจ้าจะจับภาพมือปืนได้หรือไม่หนอ?
ตอนที่ข้าพเจ้ารู้สึกว่าได้ภาพเรียบร้อยแล้ว ความคิดต่อไปคือ “เราควรจะออกจากที่นี่ดีหรือไม่? แต่ยังไงตอนนี้ก็ยังมีการยิงกันอยู่”
ข้าพเจ้าชะโงกศีรษะจากด้านหลังแท่งซีเมนต์และถามคนที่อยู่ข้างๆว่า “ได้โปรดเถอะ! ฉันออกไปได้หรือยัง” ใบหน้าของเขาดูเหี้ยมเกรียมมาก เขาพูดว่า “คุณนักข่าว อย่าถ่ายภาพนี้นะ ถ้าผมต้องทำลายกล้องของคุณก็อย่าโทษผมแล้วกัน”
ข้าพเจ้าจึงต้องเอากล้องลง นอกจากตัวข้าพเจ้าเองแล้ว มีช่างภาพอีกอย่างน้อย 6 คนซึ่งติดอยู่กับมือปืนเหล่านี้อีกอย่างน้อย 40 นาทีหรือมากกว่านั้น
หลังจากนั้นข้าพเจ้าลองอีกครั้งหนึ่ง “ตอนนี้เป็นเวลาที่ดีที่จะออกไปหรือยัง?”
เขาบอกว่าโอเค “ทำตัวให้ต่ำกว่าแนวกั้นและคลานไปนะ”
พวกเราจึงออกมา ข้าพเจ้าออกมาคนแรก เราคลานตามถนนชิดกับแนวกั้นที่เป็นซีเมนต์ไปตลอด
ในขณะที่คลานอยู่นั้น ข้าพเจ้าเห็นมือปืนอีก 2 คนถือปืนไรเฟิลอยู่โดยไม่ได้ปกปิดใบหน้า พวกเขาก็ยิงไปทางกลุ่มผู้ชุมนุมสนับสนุนการเลือกตั้งเช่นเดียวกัน ท้ายที่สุดแล้วน่าจะใช้เวลาประมาณ 15 นาทีเพื่อข้ามไปรวมกลุ่มกับมิตรสหายของข้าพเจ้าที่อีกฝั่งถนนหนึ่งแต่ข้าพเจ้ารู้สึกว่าเวลาช่างยาวนานเหมือนชั่วนิรันดร
แม้เหตุการณ์นี้จะเป็นเหตุการณ์เล็กๆในช่วงเวลาการประท้วงหลายเดือน แต่ก็เป็นเครื่องเตือนใจและคำเตือนว่าสถานการณ์ในประเทศไทยยังห่างไกลจากการคลี่คลายมาก อารมณ์ความรู้สึกในหมู่ผู้คนยังคงรุนแรง และน่าเศร้าที่การหลั่งเลือดอยู่ใกล้เพียงแค่ชั่วอารมณ์คลั่งวูบหนึ่งเท่านั้น
Trapped in a gunfight: CNN producer's harrowing account of Thai election violence
February 3, 2014 -- Updated 0950 GMT (1750 HKT)
Editor's note: Kocha Olarn is CNN International's producer in Bangkok.
(CNN) -- It was late morning on Saturday and the day so far had been relatively calm. Fears of widespread bloody clashes during Thailand's election process had failed to turn into reality.
We had decided to go to a suburb of Bangkok, an area called Lak Si, where I had heard a group of pro-election campaigners were marching to the Lak Si administration office where voting ballots for that constituency were kept. That office had been blocked by anti-election protestors.
A few hours later, the pro-election protesters arrived but kept a distance of several hundred meters from their counterparts. All of a sudden, I heard the sound of firecrackers being thrown back and forth though I couldn't work out exactly where the noise was coming from.
Then -- the sound of a gunshot.
I saw pro-election protesters flinch and throw themselves to the ground. Things went quiet for a bit. Then some pro-election protesters started gathering together, and I ran over to see what was going on.
It was a man sitting on the floor. He was shot in the chest, but could still talk. What had been a relatively peaceful protest that day turned violent with no warning and this man the first casualty. More was to come.
The pro-election protesters started to yell at an anti-government protest group who had just arrived with a big loudspeaker truck on the other side of Lak Si intersection in Bangkok. One pro-election protester told me the shot was fired from that side.
As I crossed the road, a speaker on the truck said "Please keep hidden on the left side of our truck, and walk slowly."
I moved behind a square-shaped cement barrier, and thought maybe I could put my camera on top of the barrier and take a steady shot as the truck passed by.
That's when a group of three masked men ran from behind the truck. I thought, "That's strange, their leader said to walk along the truck."
That's when I realized the men were running toward me, toward my camera. They saw me for sure.
The group of men reached my position and there was only a low cement barrier between us. Suddenly they started firing handguns in the direction of the pro-election protesters. One man carried a large green bag, which looked to conceal a rifle.
I was sitting upright, but I dropped my back to the ground immediately. All I could think was that I had to keep my camera recording. Would my lens capture the gunme
nce I felt like I had gotten the footage, my next thought was: "I should get out of here? After all, the gunfire was still going."
I peeked my head from behind the cement barricade and I asked a nearby man, "Can I leave, please? Or should I stay?" Only after I had spoken, did I notice the pistol in his hand.
His face looked stern. "You journalist, don't film this. If I have to destroy your camera, then don't blame me."
So I had to put my camera down. Apart from myself, there were at least a half-dozen other cameramen who were stuck and trapped along these gunmen, for 40 minutes or more.
Eventually I tried again. I asked the same man, "Is it a good time for us to leave?"
He said okay. "Keep yourself lower than the barriers and crawl."
So we left -- I went first. We crawled along the road, keeping next to the cement barriers along the way.
I crawled past six pistol-wielding gunmen who were mingling with anti-government protesters. Some gunmen wore masks, some didn't. They were firing toward the pro-election protesters the whole time. I could feel bullets zipping not far past my ears.
While crawling, I also saw another two gunmen with rifles, unmasked. They, too, were shooting in the direction of the pro-election protesters.
In the end, it probably took about 15 minutes to reunite with my colleagues at the other side of the road.
But it felt like forever. And though only a small moment in what has been months of protests, it served as a reminder and a warning that the situation is far from resolved in Thailand -- that passions remain high and that bloodshed is sadly only a moment of madness away.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น