อธิบายเรื่องสองสัญชาติ จากคนที่มีพาสปอร์ต สองใบ
เอาเรื่องแรกก่อน เรื่องสองสัญชาติ (Dual Nationality) ได้หรือไม่
เรื่องนี้อยู่ที่กฏหมาย ของประเทศ คู่สัญชาติ
เช่น ไทย - อังกฤษ
ไทย - ไม่มีกฏหมายระบุ (หรือมีก็ไม่รู้ แต่หาไม่เจอ)
อังกฤษ - ระบุว่า ถือสองสัญชาติได้
ไปดูที่ http://www.ukba.homeoffice.gov.uk/britis...tionality/
ระบุว่า
When becoming a British citizen
You do not need to give up your present citizenship or nationality to become a British citizen.
แต่ถ้าเป็น จีน - อังกฤษ, หรือ สิงคโปร - อังกฤษ, หรือ อินเดีย - อังกฤษ
อังกฤษ - ระบุว่า ถือสองสัญชาติได้
แต่ อินเดีย, จีน, และ สิงคโปร ไม่ยอม
ดังนั้น ถ้าได้สัญชาติ อังกฤษ ค้องสละ อินเดีย, จีน, หรือ สิงคโปร
ที่รู้ เพราะว่า เพื่อนที่ทำงาน มันต้อง สละกันทุกคน มันยังบอกว่า คนไทยโชตดีจัง มันจะกลับบ้าน ต้องขอ VISA
แต่ในใจเราคิดว่า เมืองไทย แม่งล้าหลังมากกว่า ไม่เคยมีใครคิดเรื่องนี้ เพราะว่า มันโกงกินไม่ได้
ถ้ามีกฏหมาย ไอ้มาร์ค มันต้องถอนสัญชาติไทยจากท่านนายกทักษินไปแล้ว
กฎหมายแม่งโคตรโบราน แม้แต่คนที่จะขอสัญชาติไทย (ที่ไม่ไช่การมีพ่อแม่ไทย) ต้องให้ รมต.กระทรวงมหาดไทย อนุมัติ เท่านั้น
แล้วเวลาใช้ สองสัญชาติ ใช้ยังไง?
ก็ไม่ยังไง
ออกจากที่นี่ ก็ใช้ passport ของที่นี่ ขาออก
พอไปถีงเมืองไทย ก็ใช้ passport ไทย ขาเข้า
ง่ายๆ เมือนขึ้นรถเมล์ ไม่ต้องขอ VISA
แล้วสัญชาติมันไม่เน่าไม่เปื่อย เป็นแล้วเป็นเลย มีสิทธิเหมือนพลเมืองของทั้งสองประเทศ เป็นใครก็อยาถือไว้ทั้งคู่
ทีนี้มาดู เรื่องที่สอง เรื่องการขอสัญชาติ
การขอสัญชาติ ขึ้นอยู่กับกฎหมายของประเทศที่ยื่นขอ ณ.เวลา ที่ยื่นขอ และเงือนไขการได้สัญชาติ ก็เป็นไปได้หลายแบบ แล้วแต่ประเทศ
แต่ว่าคนไทยอาจจะไม่คุ้นเคย เพราะกฎหมายเมืองไทย แม่งโบราณ
แบบแรก ง่าวๆเลย เหมือนกันทุกประเทศ ทั่วโลก คือได้จากการสืบสัญชาติ คือ พ่อ หรือ แม่ เป็นคนชาตินั้น
เมืองไทย แม่งมีข้อนี้ข้อเดียว ที่เหลือ ใครอยากได้ ต้องให้ รมต.กระทรวงมหาดไทย อนุมัติ เท่านั้น
เคยหาข้อมูล เพราะสงสัยว่า ทำไมอากง อยู่เมืองไทยมาหกสิบปี ยังต้องถือใบต่างด้าว
เรืองที่สาม ไอ้มาร์ต ได้สัญชาติอังกฤษ หรือไม่
ข้อมูลจาก Wiki
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เกิด 3 สิงหาคม พ.ศ. 2507 (3 AUG 1964) เกิดที่ เมืองนิวคาสเซิล ประเทศอังกฤษ
พ่อแม่ คนไทย 100%
ถ้าจะพิจารณาการเกิด ก็ต้องถือกฏหมาย British citizenship by birth in the United Kingdom
ไปดูที่นี่ http://en.wikipedia.org/wiki/British_nationality_law
มีคำอธิบายว่า
Before 1983, birth in the UK was sufficient in itself to confer British nationality irrespective of the status of parents
แปลว่า เด็กที่เกิดใน U.K. ก่อนปี 1983 (พ.ศ. 2526) ถือเอาการเกิดอย่างเดียวก็เพียงพอที่จะได้สัญชาติ โดยไม่เกี่ยวกับสัญชาติของพ่อแม่
ดังนั้นไอ้มาร์ค มัน "มีสิทธิ" ตามกฎหมายอังกฤษ ณ.เวลานั้น และต่อเนื่องมาอีก 18 ปี ที่จะได้สัญชาติ และ เชื่อว่าพ่อแม่มันไม่พลาดหรอก
เพราะคนไทย ที่ไปอยู่เมืองนอกทุกคน หายใจ เข้า-ออก เป็นเรื่องขอสัญชาติ ถ้าลูกมีโอกาศ ก็ขอไว้ก่อน อย่างที่บอก ได้แล้ว ได้เลย ไม่เน่า ไม่เปื่อย
ข้อดีอีกอย่างคือ เวลาไปเรียนหนังสือ เขาคิดราคาประชาชน ไม่ได้คิดราคา International Student มันต่างกันมากๆๆๆๆ
ยกตัวอย่าง ที่ลูกเรียนอยู่ จ่ายโรงเรียนปีละ 200 แต่โรงเรียนเดียวกัน International Student จ่ายปีละ 20,000
แล้วจะเข้าไปเรียน ก็ซื้อตั้วเครื่องบิน บินไปเลยไม่ต้องขอ VISA ประโยขน์มากมาย มันไม่พลาดแน่นอน
สมมุติ สมมุติ ว่าพ่อแม่มันพลาด (ควายจริงๆ) ไม่ได้ขอสัญชาติไว้
มันก็มีสิทธิ ขอได้ เมื่่อมันโต เพราะกว่ากฏหมายใหม่จะออก ก็ต้องปี 1983 ซึ่งตอนนั้น ไอ้มาร์คมันอายุ 19
แต่ว่า ตาม Wiki มันมาเรียนเมืองไทย จบแต่ ป.6 แล้วไปเรียนอังกฤษ จนจบ Oxford
เด็ก ป.6 อายุ ประมาณ 11-12 มันมีเวลา อีก 8 ปีที่มันจะยื่นเรื่องขอสัญชาติ ก่อนกฏหมายใหม่
สมมุติ สมมุติ ว่ามันพลาดอีก (ควายจริงๆ) ไม่ได้ขอสัญชาติ ตามเงื่อนไข "การเกิด"
มันก็ขอ เงื่อนไขอื่นได้ มีตั้งหลายแบบ ไม่ไช่เมืองไทย มีแบบเดียว
แบบหนึ่งที่นิยมทำกันก็คือ เงือนไข NATURALIZATION ไม่รู้จะแปลยังไง แต่หลักการก็คือ
คนที่อยู่นานๆ ก็มีสิทธที่จะขอสัญชาติได้
ไปดูที่นี่ http://www.ehow.com/how_4491469_obtain-b...nship.html
บอกก่อนว่า อันนี้เป็นกฏหมายใหม่ หาไม่เจอว่าบังคับใช้เมื่อไหร่ แต่ให้ดูเป็นตัวอย่างว่า การขอสัญชาติทำได้หลายแบบ
NATURALIZATION. If you are eighteen years or older and have lived in the United Kingdom for the last five years or
more legally and have not been out of the U.K. within those five years, if you can communicate in English, Welsh or
Scottish Gaelic, if you have "good character", and you meet the residential requirements you may be able to apply
for naturalization as a British citizen.
แปลว่า คนที่อายุเกิน 18 อยู่แบบถูกกฎหมายมาแล้ว 5 ปี พูดอังกฤษคล่อง และมี "good character" (ไม่ติดยา ไม่มีคดี ทำนองนั้น) ก็ขอได้
สรุป
อันนี้ความเห็นส่วนตัว พิจารณาตามหลักฐานที่อ้างอิงได้ และ สามัญสำนีกของคนเป็นพ่อแม่
ใครจะเชื่อไม่เชื่อก็แล้วแต่ ไอ้มาร์คมีสัญชาติอังกฤษแน่นอน พ่อแม่มันต้องขอไว้ตั้งแต่มันเกิดแล้ว
เพิ่มเติม
มีหลายคนยังสงสัย เรื่องการถือสองสัญชาติ บอกว่า มันต้องมีการสละสัญชาติเมื่ออายุครบ 20 ...
มีหลักฐานสองข้อ ข้อแรก ตามกฎหมาย
ไปดูที่นี่ กระทรวงการต่างประเทศ http://www.mfa.go.th/web/1071.php
ระบุว่า
พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 แก้ไขโดย พ.ร.บ. สัญชาติ (ฉบับที่2 และฉบับที่3) พ.ศ. 2535 มิได้มีบทบัญญัติกำหนดเกี่ยวกับผู้มีสัญชาติไทยและสัญชาติอื่นในขณะเดียวกัน ไว้โดยตรง และไม่ได้มีบทบัญญัติกำหนดว่าให้ผู้ที่มีสัญชาติไทยและสัญชาติอื่นในขณะ เดียวกันต้องเสียสัญชาติไทยเพราะข้อเท็จจริงที่บุคคลนั้นมีสัญชาติอื่นอยู่ ด้วย ดังนั้น หากบุคคลผู้ถือสัญชาติไทยและสัญชาติอื่นในขณะเดียวกันมิได้แสดงเจตนาสละ สัญชาติไทย หรือกระทำการใดที่อาจเป็นเหตุให้องค์กรของรัฐถอนสัญชาติ และไม่มีสถานการณ์ที่บุคคลอาจเสียสัญชาติ หรือกระทำการใดที่เป็นการยอมรับว่าตนเป็นคนต่างด้าว บุคคลนั้นจึงสามารถถือสัญชาติไทยและสัญชาติอื่นได้ในขณะเดียวกัน ส่วนบุคคลนั้นจะเสียอีกสัญชาติหนึ่งหรือไม่ประการใดก็ย่อมเป็นไปตามกฎหมาย สัญชาติของประเทศนั้น ทั้งนี้ คุณดวงใจฯ สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมและข้อมูลในทางปฎิบัติได้จากกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานผู้รักษาการพ.ร.บ.สัญชาติฯ
หลักฐานข้อที่สอง จากคนใกล้ตัว และ จากตัวเอง
ปีที่แล้วกลับเมืองไทย ยังใช้ passport สองใบอยู่เลย แล้วปีนี้ก็อายุเกิน 20 แล้ว เกินมาตั้งนานแล้ว ...
และ เพื่อนที่ทำร้านอาหาร ลูกชายสองตน ใช้ passport สองใบ สามสี่ปีก่อน ก็ยังต้องไปนั่งเกณฑ์ทหารอยู่เลย และปีที่แล้ว ก็ต้องกลับไปทำบัตรประชาชน เฮ้ย อายุมันเกิน 20 แล้วนา ...
มันไม่มีระบุ เห็นใหมว่าทำไมถึงด่าว่ากฎหมายแม่ง โบราณ, แล้ว เห็นใหม ว่าทำไม มันถึงทำอะไรท่านนายกทักษินไม่ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น